ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี 2554 25 -27 มกราคม 2555.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการการป้องกันเอชไอวีในกลุ่มประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
Advertisements

เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ผลกระทบการเปิดประตูสู่อาเซียน
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มที่ 3 เรื่องงานด้านการดูแล รักษาผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วย.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค ประจำปี 2550 แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
แผน 2 การแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด
นโยบายด้านบริหาร.
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
บทเรียนการดำเนินการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ แบบครบวงจร
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
TRAT Model Roadmap to HIV Standard Based On HA ๒๐๑๑
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โดย คุณมยุรี ผิว สุวรรณ. สุขภาพ - ภาวะของมนุษย์ที่ สมบูรณ์ทั้งกาย จิต ทางปัญญา และ สังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์ รวมอย่างสมดุล สุขภาพ - ภาวะของมนุษย์ที่
GOAL ผู้รับบริการ บำบัดไม่ครบ ตามเกณฑ์ และไม่กลับ เสพซ้ำ สร้าง เครือข่าย แบบบูรณา การ ปัญหา 1. ผู้รับบริการ บำบัดไม่ครบตาม เกณฑ์และกลับ เสพซ้ำ 2. เปิดเผย.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 1 การวางแผนดูแลสุขภาพของ บุคคลในชุมชนและสังคม.
1. การประเมิน / จำแนกผู้ป่วย เพื่อรับการรักษา 2. การทำงานร่วมกับสหวิชาชีพ 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีความ เสี่ยงสูง เช่นผู้ป่วยหลอดเลือด สมอง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
บทเรียนที่งอกงามในการทำงาน ด้านเอชไอวี / เอดส์ ของพี่น้อง ภาคีกพอ. ภาคเหนือ 25 ปี เบญจเพศ มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ พันธกิจเอดส์แห่งประเทศ ไทย มูลนิธิเอดส์เน็ท.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555

การลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด คือ การลดความเสี่ยงและอันตรายต่างๆ ที่ อาจเกิดขึ้นจากการ ใช้ยาเสพติดโดยการ ใช้เข็มและกระบอกฉีดร่วมกัน ผู้ที่ใช้ยา เสพติดอาจยังเลิกใช้ยาไม่ได้ทันที ฉะนั้น ระหว่าง ที่กำลังพยายามจะเลิก จึงควรมี วิธีการลดอันตราย จากการติดและ ถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี รวมทั้งเชื้อไวรัสตับ อักเสบชนิดซี และชนิดบี อีกทั้งช่วยให้ผู้ที่ ใช้ยาเสพติดสามารถปรับตัวเองให้ลดการ ใช้ยาลง และดำรงสถานภาพการไม่ กลับไปเสพซ้ำให้นานขึ้น การลดอันตรายจากการใช้ยา Harm Reduction

1. เพื่อให้ผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดเข้าถึงบริการ แบบรอบด้านของการลดอันตรายจากการใช้ยา เสพติด 2. เพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อเอชไอวีในกลุ่ม ผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดและผู้ที่มีเพศสัมพันธ์ ด้วย 3. เพื่อลดจำนวนผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีด 4. เพื่อลดอัตราการเกิดอาชญากรรมจากผู้ใช้ยา เสพติดด้วยวิธีฉีด

มี ๓ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การบริการแบบบูรณาการและ ครบวงจร 1. ความเข้าใจเชิงบวกของชุมชน หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เรื่องการลดอันตราย 2. พัฒนาและให้บริการชุดบริการการลดอันตราย แบบครบวงจร ก. บริการลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ( ให้ความรู้ MMT NSP ถุงยาง ) ข. บริการตรวจรักษา (VCCT STI TB) ค. บริการด้านจิตใจและการบำบัด ( เพื่อนช่วย เพื่อน จิตเวช บำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพ )

การให้ความรู้ ทัศนคติ และทักษะในการ ป้องกันการติดเชื้อและ ยาเสพติด การให้คำปรึกษา และ การตรวจเชื้อ เอชไอวี พร้อมการส่ง ต่อเพื่อการดูแลรักษา ให้บริการรักษาด้านจิต เวช การป้องกัน วินิจฉัย และรักษาวัณโรค การตรวจและรักษา โรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ การบำบัดรักษายา เสพติด โดยใช้สารเมทาโดน ระยะยาว การสนับสนุน วิธีใช้ เข็มและอุปกรณ์ฉีด ยาที่สะอาด การแจกถุงยาง อนามัย กิจกรรมกลุ่มเพื่อน ช่วยเพื่อน การบำบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ การกลับสู่สังคม และการป้องกันการ เสพซ้ำ

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การบริการเชิงรุก 1. เพิ่มการเข้าถึงผู้ใช้ยาโดยเจ้าหน้าที่ และอาสาสมัคร ภาครัฐและประชาสังคม 2. เสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์กรและเครือข่ายที่ ทำงานการลดอันตราย ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การศึกษาวิจัย และประเมินผล 1. พัฒนาระบบข้อมูลข้อสนเทศ 2. ศึกษาวิจัยผลกระทบการดำเนินงาน เพื่อนำมาปรับปรุง นโยบาย และการดำเนินงาน 3. ติดตามและประเมินผลนโยบาย และการดำเนินงาน

 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย  การให้บริการอย่างครอบคลุม  การบำบัดที่มีมาตรฐาน  นโยบาย  ความร่วมมือ  ความยั่งยืน page 7