วิชา วิทยาศาสตร์ เลือกเสรี สื่อประสม จัดทำโดย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของโครงงาน.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ จัดทำโดย
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
บรรยากาศ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
ดาวอังคาร (Mars).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ จัดทำโดย ด.ญ.ณัฐวิภา อิสริโยดม ม.2/2 เลขที่ 24
ภาพดวงดาวและกาแล็กซี่
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
ทีมสำรวจอวกาศ ทีมสำรวจอวกาศ: ภารกิจ! แผนการจัดการเรียนรู้ 1: ภารกิจ 1.
ระบบสุริยะ (Solar System).
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ตรีโกณมิติ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
สมาชิก 1.น.ส.ศรวณีย์ อินทร์วงศ์ เลขที่ 11
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คำชี้แจง สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
กาแล็กซีและเอกภพ.
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
การเขียนรายงาน.
DMC 2/2014. ข้อมูลที่โรงเรียนต้องดำเนินการปรับปรุง ในภาคเรียนที่ 2/ ข้อมูลพื้นฐาน ( กรณีโรงเรียนเปลี่ยน ผู้บริหาร / แก้ไขข้อมูลพื้นฐานอื่นๆ ) 2.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
กล้องโทรทรรศน์.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/11 อาจารย์อรอุมา พงค์ธัญญ ดิลก
ยูเรนัส (Uranus).
ดวงจันทร์ (Moon).
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
วิทยาศาสตร์ Next.
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ชิ้นที่ 2 นางสาวจรรยา พุฒเจริญ คอมฯถูกใช้ในการออกแบบ สถานการณ์หรือปัญหาที่ ซับซ้อนต่างๆ.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
10 นักวิทยาศาสตร์คนสำคัญ
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
ระบบสุริยะ จักรวาล.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ชิ้นงานที่ 2 สุภาลัย หมายถมกลาง คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการ ออกแบบสถานการณ์หรือ ปัญหาซับซ้อนต่างๆ.
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา วิทยาศาสตร์ เลือกเสรี สื่อประสม จัดทำโดย ด.ญ อรสา สัตยานุรักษ์ ม.2/7 ด.ญ นฤมล มีทอง ม.2/8 ด.ญ ณัฐรัตน์ กุธิตา ม.2/7 โรงเรียนตากพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 1

คำนำ ชิ้นงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของ วิชา เลือกเสรี สื่อประสม ซึ่งได้รับมอบหมายงานจาก อาจารย์ วัชระ วงษ์ดี และกลุ่มดิฉันได้นำวิชาวิทยาศาสตร์ มาทำเป็นชิ้นงานนี้ ถ้าผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

สารบัญ เรื่อง หน้า ความหมายและที่มาของ ดาราศาสตร์ 1 เรื่อง หน้า ความหมายและที่มาของ ดาราศาสตร์ 1 การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ 2

ความหมายและที่มาของ ดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุท้องฟ้า (อาทิ ดาวกฤษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหางและดาราจักร)รวมทั้งปรากฎการณ์ทางธรรมชาติต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากนอกชั้นบรรยากาศของโลกโดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกพบ ดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วยสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหน่งดาว การเดินเรือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตุการณ์การสร้างปฎิทิน และรวมทั้งโหราศาสตร์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกต์ดาราศาสตร์ตั้งแต่คริสต์สตวรรษที่ 20เป็นต้นมาดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่างๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี

การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ในยุคเรอเนซองส์ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส ได้นำเสนอแนวคิดแบบจำลองแบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาลheliocentric model) ซึ่งถูกต่อต้านอย่างมากจากศาสนจักร ทว่าได้รับการยืนยันรับรองจากงานศึกษาของกาลิเลโอ กาลิเลอิและ โยฮันเนส เคปเลอร์โดยที่กาลิเลโอได้ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงแบบใหม่ขึ้นในปี ค.ศ 1609ทำให้สามารถเฝ้าสังเกตดวงดาวและนำผลจากการสังเกตมาช่วยยืนยันแนวคิดนี้ เคปเลอร์ได้คิดค้นระบบแบบใหม่ขึ้นโดยปรับปรุงจากแบบจำลองเดิมของโคเปอร์นิคัส ทำให้รายละเอียดการโคจรต่างๆ ของดาวเคราะห์และดวงอาทิตย์ที่ศูนย์กลางสมบูรณ์ถูกต้องมากยิ่งขึ้น แต่เคปเลอร์ก็ไม่ประสบความสำเร็จในการนำเสนอทฤษฎีนี้เนื่องจากกฎหมายในยุคสมัยนั้น จนกระทั่งต่อมาถึงยุคสมัยของเซอร์ ไอแซค นิวตัสผู้คิดค้นหลักกลศาสตร์ท้องฟ้าและกฏแรงโน้มถ่วงซึ่งสามารถอธิบายการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ได้อย่างสมบูรณ์ นิวตันยังได้คิดค้นกล้องโทรทรรษแบบสะท้อนแสงขึ้นด้วย การค้นพบใหม่ๆ เกิดขึ้นเรื่อยๆ พร้อมไปกับการพัฒนาขนาดและคุณภาพของกล้องโทรทรรศน์ที่ดียิ่งขึ้น มีการจัดทำรายชื่อดาวอย่างละเอียดเป็นครั้งแรกโดย ลาซายล์ต่อมานักดาราศาสตร์ชื่อ วิลเลียม เฮอร์เชลได้จัดทำรายการโดยละเอียดของแนบิวลาและกระจุกดาว ค.ศ 1781มีการค้นพบดาวยูเรนัสซึ่งเป็นการค้นพบดาวเคราะห์ดวงใหม่เป็นครั้งแรก ค.ศ 1838มีการประกาศระยะทางระหว่างดาวเป็นครั้งแรกโดยฟรีดดริก เบสเซลหลังจากตรวจพบพารัลแลกซ์ของดาว 61 Cygni