การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
สมดุลเคมี.
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
2NO 2 = N 2 O 4 ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ทดลองเพื่ออะไร.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่องความเข้มข้นของสารละลาย
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ตัวอย่างกิจกรรมการทดลอง โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
หินแปร (Metamorphic rocks)
Laboratory in Physical Chemistry II
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 5 Colligative property
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
องค์ประกอบของแก้ว องค์ประกอบของแก้วชนิดต่างๆที่สำคัญ ตลอดจนสมบัติและประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ได้แสดงในตารางที่ 1.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
ACID-BASE เราไปกันเลย Jutimat Rattanapan.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เคมี ม.5 ว30223 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ครูธนพล ถัดทะพงษ์
การจำแนกประเภทของสาร
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ภาวะโลกร้อน.
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change) การเปลี่ยนแปลงบางอย่างเกิดขึ้นแล้ว สามารถย้อนกลับสู่สภาวะเดิมได้ ดังตัวอย่าง การที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นไอ และไอก็ควบแน่นกลับมาเป็นของเหลวอย่างเดิม การที่น้ำกลายเป็นไอน้ำเมื่อได้รับความร้อน และไอน้ำกลั่นตัวกลับมาเป็นน้ำ เมื่ออุณหภูมิลดลง นี้เป็น การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้

ปฏิกิริยาผันกลับได้ (Reversible reaction) ในปฏิกิริยาเคมีหนึ่งๆ นั้น เมื่อพิจารณาดูว่าปฏิกิริยาจะเกิดไปได้สิ้นสุดหรือไม่นั้น ให้ถือว่า ถ้าปฏิกิริยาเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อแล้ว ปฏิกิริยาจะเกิดสมบูรณ์ได้สารผลิตภัณฑ์ แต่ในบางปฏิกิริยา เมื่อเกิดสารผลิตภัณฑ์แล้ว สารผลิตภัณฑ์มีการเปลี่ยนแปลงกลับมาเป็นสารตั้งต้นได้ ปฏิกิริยานี้เรียกว่า ปฏิกิริยาที่ผันกลับได้

ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็นสารผลิตภัณฑ์ เรียกว่า ปฏิกิริยาไปข้างหน้า (Forward reaction) ปฏิกิริยาที่สารผลิตภัณฑ์เปลี่ยนมาเป็นสารตั้งต้น เรียกว่า ปฏิกิริยาย้อนกลับ (Reverse reaction) ปฏิกิริยาไปข้างหน้าและปฏิกิริยาย้อนกลับนี้เขียนแทน ด้วยลูกศรไปและกลับ ( ) ซึ่งแสดงว่า เป็น ปฏิกิริยาที่ผันกลับได้

เช่น การที่เกลือแกง (NaCl) ซึ่งเป็นของแข็งละลายในน้ำ เกิดการแตกตัวเป็นโซเดียมไอออน (Na+) และคลอไรด์ไอออน (Cl-) และการตกผลึกของโซเดียมไอออนกับคลอไรด์ไอออนกลับมาเป็นโซเดียมคลอไรด์ ดังนี้ NaCl (s)  Na+ (aq) + Cl- (aq) (การแตกตัว) Na+ (aq) + Cl- (aq)  NaCl (s) (การตกผลึก) การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงผันกลับของของแข็งไปเป็นของเหลว และของเหลวเปลี่ยนกลับมาเป็นของแข็ง เขียนแสดงได้ดังนี้ NaCl (s) Na+ (aq) + Cl- (aq)

คำถาม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระบบต่อไปนี้ มีการเปลี่ยนแปลงแบบผันกลับได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ก. การเผาผลึกของคอปเปอร์ (II) ซัลเฟตในหลอดที่ปิดสนิท ข. ปรอทในเทอร์โมมิเตอร์ ค. ถ้วยแก้วใส่น้ำแข็งตั้งทิ้งไว้ในห้อง ง. การเผาโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตในถ้วยกระเบื้อง จ. กระติกใส่น้ำเดือดลงไปแล้วปิดฝาแน่น ฉ. น้ำอัดลมในขวดที่ยังไม่ได้เปิดฝา

เฉลย ก. การเผาผลึกของคอปเปอร์ (II) ซัลเฟตในหลอดที่ปิดสนิท เป็น การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ CuSO4 .5H2O(s) CuSO4(s) + 5H2O(g) สีน้ำเงิน สีขาว(จุนสีสะตุ) เมื่อให้ความร้อนกลับผลึกของคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต ซึ่งมีสีน้ำเงิน น้ำจะถูกดึงออกจากผลึกได้เป็น CuSO4 หรือจุนสีสะตุ ซึ่งมีสีขาว เมื่อหยุดให้ความร้อน น้ำจะรวมตัวกับ CuSO4 กลับมากลายเป็น CuSO4 .5H2O ซึ่งมีสีน้ำเงิน

เฉลย ข. ปรอทในเทอร์โมมิเตอร์ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับ ได้ การกลายเป็นไอของปรอท และการที่ไอปรอทเปลี่ยนกลับมาเป็นของเหลวนั้น คือการเปลี่ยนแปลงสถานะที่ผันกลับได้ ค. ถ้วยแก้วใส่น้ำแข็งตั้งทิ้งไว้ในห้อง เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบผันกลับไม่ได้ น้ำแข็งจะละลายในน้ำ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงกลับมาเป็นของแข็งได้

เฉลย ง. การเผาโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตในถ้วยกระเบื้อง เป็นปฏิกิริยาผันกลับไม่ได้ KMnO4(s)  KMnO2(s) + O2(g) O2 จะแพร่ออกไปสู่อากาศ จ. กระติกใส่น้ำเดือดลงไปแล้วปิดฝาแน่น เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ คือ เป็นการเปลี่ยนแปลงระหว่างไอน้ำเป็นน้ำ และจากน้ำเป็นไอน้ำ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนสถานะ H2O (g) H2O (l)

เฉลย ฉ. ในขวดน้ำอัดลมที่ยังไม่เปิดฝาเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ น้ำนั้นจะรวมอยู่กับก๊าซ CO2 เป็นกรดคาร์บอนิก H2CO3 ซึ่งก๊าซ CO2 นี้บางส่วนจะหนีออกไปในที่ว่างเหนือระดับน้ำอัดลมในขวด และก๊าซ CO2 บางส่วนก็จะละลายกลับลงมาในน้ำอัดลมอีก H2CO3 (aq) H2O (l) + CO2 (g) กรดคาร์บอนิก ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์