การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
ช่องทางการกำกับติดตามข้อมูลจาก สปสช.
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
การเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 4 มิ.ย. 2556
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ปีงบประมาณ 2555 ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ ปฐมภูมิ (On top payment) ปีงบประมาณ 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
โครงการ "ฟันเทียมพระราชทาน"
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เงินค่าเสื่อม (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ.
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
งบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
สาขาโรคมะเร็ง.
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
ผลงานการพัฒนาระบบข้อมูล บริการผู้ป่วยนอก และสร้าง เสริมสุขภาพป้องกันโรค OP/PP Individual Data ปี 2556.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 ภญ.เนตรนภิส สุชนวนิช ผู้ช่วยเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เสนอในการประชุมชี้แจงฯ วันที่ 11-12 ตุลาคม 2555

ประเด็นการบรรยาย งานจัดการข้อมูลผู้มีสิทธิและหน่วยบริการ การบริหารงบกองทุนปี 2556 ระบบรายงานการโอนเงิน

สถานการณ์สิทธิว่างแยกตามกลุ่มอายุ (มิ.ย.54) เด็ก 0-5 ปี กลุ่มวัยทำงาน หมายเหตุ สิทธิว่างทั้งหมด ณ 28 มิ.ย.54 จำนวน 481,332 คน

มติบอร์ดในการลงทะเบียนแทน (ประกาศ ณ 29 มิย. 55) กรณีเด็กแรกเกิด กลุ่มวัยทำงาน 2.1 กลุ่มที่หมดสิทธิประกันสังคมตามมาตรา 10 2.2 กลุ่มที่หมดสิทธิข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ ตามมาตรา 9 ได้แก่ - บุตรอายุเกิน 20 ปี - ข้าราชการที่พ้นจากสภาพโดยรับบำเหน็จ - ครอบครัวข้าราชการที่พ้นสภาพโดยรับบำเหน็จ

ระบบลงทะเบียนต่อเนื่อง ระบบเดิม ระบบใหม่

ผลงานความครอบคลุมการลงทะเบียนผู้มีสิทธิ % 2555 ปีงบประมาณ

สสจ.ที่มีผลงานความถูกต้องของการลงทะเบียน เต็ม 100 % ในปีงบประมาณ 2554-55 สสจ. กระบี่ สสจ.อ่างทอง สสจ.นราธิวาส สสจ. ประจวบคีรีขันธ์ สสจ. ตราด สสจ. มุกดาหาร สสจ. สุรินทร์ สสจ. ภูเก็ต สสจ. ลำพูน สสจ. พะเยา สสจ. ชัยนาท สสจ. ปราจีนบุรี สสจ. กาฬสินธุ์ สสจ. ชุมพร สสจ. ตรัง

สิ่งที่เปลี่ยนแปลง การบูรณาการฐานข้อมูลผู้พิการกับกระทรวงพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ฯ(พก.) ประกันสังคม และองค์การทหารผ่านศึก ข้อมูลลงในบัตร smart card ตั้งแต่พค. 55  ส่งข้อมูลให้สสจ. ตั้งแต่ สค.55 2. การลงทะเบียนแทนตามมติบอร์ดกรณีเด็กแรกเกิด ผู้หมดสิทธิ ประกันสังคมและสวัสดิการราชการ (ประกาศ ณ 29 มิย. 55) ร่วมกับ UNICEF, กระทรวงมหาดไทย,กระทรวงสธ. ในการ พัฒนา birth and birth defect registry (ปีงบประมาณ 55-56)

การขี้นทะเบียนหน่วยบริการกับการบริหารกองทุน หน่วยบริการปฐมภูมิ การขี้นทะเบียนและตรวจประเมินหน่วยบริการควรดำเนินการให้แล้วเสร็จในเดือนสิงหาคมของทุกปี ณ เดือนตุลาคม ของทุกปี สปสช.จะนำข้อมูลการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการและข้อมูลผู้มีสิทธิมาใช้ในการคำนวณงบเหมาจ่ายรายหัว (prepaid) และงบค่าเสื่อม ตั้งแต่ปีงบ 51-56 จะไม่มีการเรียกคืนงบค่าเสื่อม(งบลงทุน)หากอยู่ครบปีงบประมาณ หน่วยบริการประจำ

สสจ. พลังขับเคลื่อนในการพัฒนาระบบทะเบียน การลงทะเบียนผู้มีสิทธิ การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ สสจ. ลำพูน สสจ. เพชรบูรณ์ สสจ. กำแพงเพชร สสจ. พระนครศรีอยุธยา สสจ. ปราจีนบุรี สสจ. นครราชสีมา สสจ. อุบลราชธานี สสจ. ชุมพร สสจ. นครศรีธรรมราช สสจ. ปทุมธานี สสจ. นครราชสีมา สสจ. เลย สสจ. ตาก สสจ. เพชรบุรี สสจ. พังงา

การบริหาร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 การบริหาร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556

กรอบแนวคิดในการจัดสรรกองทุน การสร้างความเป็นธรรมต่อประชาชน และผู้ป่วยที่จะได้รับ บริการสาธารณสุข การเพิ่มประสิทธิผลและคุณภาพผลงานบริการสาธารณสุข การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการร่วมดำเนินงานหลักประกัน สุขภาพและการบริการสาธารณสุข การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารเงินกองทุน การบริหารงานแบบเขตสุขภาพ การให้บริการสาธารณสุขที่เป็นโครงการเฉพาะ หรือโครงการพิเศษ การจัดซื้อร่วมระดับประเทศ

งบกองทุน UC ในปีงบประมาณ 2556 งบบริการทางการแพทย์ เหมาจ่ายรายหัว กองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ งบบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ งบบริการผู้ป่วย ไตวายเรื้อรัง งบบริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง

งบบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว ปีงบ 2556 ประมาณการประชากรผู้มีสิทธิประกันสุขภาพแห่งชาติ จำนวน 48,445,000 คน อัตราเหมาจ่าย 2,755.60 บาทต่อผู้มีสิทธิประกันสุขภาพ คิดเป็นงบประมาณ 100,699.7580 ล้านบาท (ไม่รวมเงินเดือน)

1. บริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว ประเภทบริการ จำนวนบาท/ผู้มีสิทธิ 1. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 983.49 (+11.98) 2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป 975.85 (+3.68) 3. เงินเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 60.99 4. บริการกรณีเฉพาะ (ค่าใช้จ่ายสูง/อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน/บริการโรคเฉพาะ) 262.10 (- 6.94) 5. บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 313.70 6. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ 12.88 7. บริการแพทย์แผนไทย 7.20 8. ค่าเสื่อม 128.69 (-12.81) 9. ส่งเสริมคุณภาพผลงานบริการ 4.76 10. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้รับบริการตามมาตรา 41 5.19 (+4.09) 11. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นเพื่อการชดเชยผู้ให้บริการ 0.75 รวม (บาทต่อผู้มีสิทธิ) 2,755.60 หมายเหตุ ประเภทบริการที่ 5 ครอบคลุมประชาชนคนไทยทุกคน

2. บริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ เป็นงบประมาณที่เพิ่มเติมจากเงินบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว โดย ครอบคลุม บริการการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวี การตรวจชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ การให้การปรึกษาและดูแลสุขภาพในผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ รายการ จำนวนเงิน (บาท) 1. บริการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสและบริการที่เกี่ยวข้อง 3,234,330,000 2. การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสำหรับผู้ป่วยติดเชื้อ เอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ 42,500,000 รวม 3,276,830,000

3. บริการผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง เป็นงบประมาณเพิ่มเติมจากเงินบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว ครอบคลุม ค่าใช้จ่าย ค่ายาและบริการที่เกี่ยวข้องในการล้างไตผ่านทางช่องท้อง การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม การปลูกถ่ายไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ ในปีงบประมาณ 2556 ได้ครอบคลุมการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ และการปลูกถ่ายตับในเด็กกรณี ท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิด รายการ จำนวนเงิน (บาท) 1. การบริการทดแทนไต (รวมบริการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ และการปลูกถ่ายตับในเด็กกรณีท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิด) 4,334,975,000 2. การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง (รวมบริการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ และการปลูกถ่ายตับในเด็กกรณีท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิด) 22,810,000 รวม 4,357,785,000

4. บริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง เป็นงบประมาณที่เพิ่มเติมจากเงินบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว สำหรับการบริการควบคุมป้องกันความรุนแรงของผู้เป็นเบาหวานและความ ดันโลหิตสูง โดยมีเป้าหมายในการเพิ่มการเข้าถึงและยกระดับบริการส่งเสริมป้องกัน ระดับทุติยภูมิ (Secondary prevention) ให้ได้ตามมาตรฐาน รายการ จำนวนเงิน (บาท) 1. การบริการควบคุม ป้องกัน และรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง โดยเน้นการควบคุมป้องกันระดับทุติยภูมิ 410,088,000 รวม

สรุปงบกองทุนปี 56 รายการ จำนวนเงิน (ล้านบาท) ๑.บริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว   ๑.๑ ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการทางการแพทย์ต่างๆ ๑๐๐,๖๙๙.๗๖ ๑.๒ เงินเดือนของหน่วยบริการภาครัฐ ๓๒,๗๙๕.๒๘ ๒.บริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ ๓,๒๗๖.๘๓ ๓.บริการผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ๔,๓๕๗.๗๙ ๔.บริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง ๔๑๐.๐๙ รวมทั้งสิ้น ๑๔๑,๕๓๙.๗๕ รวมกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ไม่รวมเงินเดือนหน่วยบริการภาครัฐ) ๑๐๘,๗๔๔.๔๖

แนวทางการบริหารจัดการกองทุน UC ปีงบ 2556 ที่เปลี่ยนแปลงจากปีงบ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงฯ วันที่ 11-12 ตุลาคม 2555

แนวทางการบริหารจัดการกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 ที่เปลี่ยนแปลงจากปีงบประมาณ 2555 (1) แนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 เน้นการปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหาร กองทุน และสนับสนุนการบริหารแบบเขตบริการสาธารณสุข ทำให้ มีการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ และแนวทางการบริหารจัดการ กองทุนฯในประเด็นที่สำคัญ ดังนี้

P งบบริการผู้ป่วยนอก ปี 55 แบ่งบริการย่อยเป็น 4 รายการ ได้แก่ บริการที่จ่ายแบบเหมาจ่ายต่อผู้มีสิทธิ บริการที่จ่ายตามผลงานบริการ บริการที่จ่ายตามเกณฑ์บริการปฐมภูมิ บริการผู้ป่วยนอกรับส่งต่อเฉพาะข้ามจังหวัด ปี 56 แบ่งบริการย่อยเหลือ ๓ รายการ ได้แก่ บริการที่จ่ายแบบเหมาจ่ายต่อผู้มีสิทธิ บริการที่จ่ายตามผลงานบริการ บริการที่จ่ายตามเกณฑ์บริการปฐมภูมิ ย้ายไปเบิกจากงบค่าใช้จ่าย สูง

P งบบริการผู้ป่วยนอก ปี 55 แบ่งบริการย่อยเป็น 4 รายการ ได้แก่ บริการที่จ่ายแบบเหมาจ่ายต่อผู้มีสิทธิ บริการที่จ่ายตามผลงานบริการ บริการที่จ่ายตามเกณฑ์บริการปฐมภูมิ บริการผู้ป่วยนอกรับส่งต่อเฉพาะข้ามจังหวัด ปี 56 INCENTIVE ปรับหลักเกณฑ์และแนวทางการบริหารจัดการในส่วนค่าบริการ โดย 3.1) จ่ายให้เครือข่ายบริการปฐมภูมิที่มีศักยภาพเชิงโครงสร้างและผลสัมฤทธิ์ตามเกณฑ์ โดยเป็นเกณฑ์กลางและเพิ่มเติมเกณฑ์ระดับเขตได้ตามความเห็นชอบของ อปสข. 3.2) บริหารจัดการระดับเขต โดยจัดสรรเงินเป็น global budget ระดับเขต ด้วยสูตรจำนวนผู้มีสิทธิ : จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่ผ่านเกณฑ์ในปีที่ผ่านมา = 50:50 3.3) แนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. 3. เพิ่มจ่ายตามผลงานทั้งเชิง ปริมาณงานและคุณภาพ ผลงานบริการ

P งบบริการผู้ป่วยนอก ปี 55 ปี 56 Improvement แบ่งบริการย่อยเป็น 4 รายการ ได้แก่ บริการที่จ่ายแบบเหมาจ่ายต่อผู้มีสิทธิ บริการที่จ่ายตามผลงานบริการ บริการที่จ่ายตามเกณฑ์บริการปฐมภูมิ บริการผู้ป่วยนอกรับส่งต่อเฉพาะข้ามจังหวัด ปี 56 Improvement 4) ปรับหลักเกณฑ์และแนวทางการบริหารจัดการในส่วนค่าสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ โดย 4.1 เพิ่มงานกำกับติดตามและประเมินผล 4.2 จัดสรรไม่น้อยกว่า 80% เป็น global budget ระดับเขต ด้วยสูตร จำนวนผู้มีสิทธิ : จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ในปีที่ผ่านมา = 30:70 4.3 แนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. 3. เพิ่มจ่ายตามผลงานทั้งเชิง ปริมาณงานและคุณภาพ ผลงานบริการ

P งบบริการผู้ป่วยนอก ปี 55 แบ่งบริการย่อยเป็น 4 รายการ ได้แก่ บริการที่จ่ายแบบเหมาจ่ายต่อผู้มีสิทธิ บริการที่จ่ายตามผลงานบริการ บริการที่จ่ายตามเกณฑ์บริการปฐมภูมิ บริการผู้ป่วยนอกรับส่งต่อเฉพาะข้ามจังหวัด ปี 56 2. เพิ่มจ่ายตามผลงานทั้งเชิง ปริมาณงานและคุณภาพ ผลงานบริการ

ประเด็นที่เปลี่บนแปลง งบผู้ป่วยใน ประเภทบริการ ประเด็นที่เปลี่บนแปลง 2. บริการผู้ปวยใน ทั่วไป 1) ปรับชื่อเรียกวงเงินระดับเขตจาก “กองทุนผู้ป่วยใน ระดับเขต “เป็น “global budget ระดับเขต” 2) การคำนวณจำนวนน้ำหนักสัมพัทธ์เพื่อกำหนด global budget ระดับเขต - ปรับสัดส่วน adj RW workload : RW ต่อประชากรตาม โครงสร้างอายุ จาก 65: 35 เป็น 55:45 (ตามมติที่กำหนดไว้เดิม) 3) ปรับอัตราจ่ายการใช้บริการนอกเขต 9,600 บาท/adjRW 4) การจ่ายบริการในเขตให้ สปสช.เขตกำหนดอัตราเบื้องต้นได้ โดยผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. เพื่อพัฒนาระบบบริการ ในเขต แต่ต้องไม่เกินอัตรา 9,600 บาท/adjRW

ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง แนวทางการบริหารจัดการกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 ที่เปลี่ยนแปลงจากปีงบประมาณ 2555 (4) ประเภทบริการ ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง 3. เงินเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง ยกเลิกเกณฑ์ “ทุกหน่วยบริการได้รับงบบริการผู้ป่วยนอกทั่วไปรวมงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง สูงกว่าปีที่ผ่านมาอย่างน้อย 4.72%” 4. บริการกรณีเฉพาะ (ค่าใช้จ่ายสูง/อุบัติเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉิน/บริการโรคเฉพาะ) รวมค่าใช้จ่ายสำหรับบริการผู้ป่วยนอกรับส่งต่อเฉพาะข้ามจังหวัดที่ย้ายมาจากบริการผู้ป่วยนอกทั่วไป ค่าใช้จ่ายสำหรับบริการทันตกรรมจัดฟันและฝึกพูดในผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ที่ย้ายมาจากรายการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์

NPP & Central procurement ( 232.36 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.404 ล้านคน) (1) NPP & Central procurement (p.129-130) (25.72 บ./คน) (2) PPE (124.96 บ./คน) (3) PPA (57.40 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.68 บ./คน) (5) ทันตกรรมส่งเสริม (16.60 บ./คน) CUP/สถานพยาบาล P&P Capitation ( 232.36 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.404 ล้านคน) คำนวณจาก 313.70 บาท/ปชก.UC 48.445 ล้านคน หักเงินเดือน กองทุนฯท้องถิ่น (40.00 บ./คน) Capitation (99.96 บ./คน) Quality Performance (25.00 บ./คน) จังหวัด/เขต (17.40 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ PPE และ PPA เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง

สิ่งที่ต่างจาก ปี 2555 (1) PP Express demand เพิ่มการจัดสรรตาม workload โดยใช้ข้อมูล ผลงานจาก OP/PP individual และจัดสรรตามคุณภาพผลงานบริการ PP Area based เพิ่มบทบาทให้จังหวัดทำหน้าที่บริหารการจัดสรร เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ คุณภาพการบริการให้ได้ตามเป้าหมายใน 2 บริการได้แก่ บริการตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก หรือบริการอื่นๆที่มีปัญหาใน พื้นที่ กระจายอำนาจการกำหนด หลักเกณฑ์ แนวทางการบริหารจัดสรร เงินลงสู่พื้นที่ ให้แก่ สปสช.เขต และจังหวัดในการกำหนดเกณฑ์ คุณภาพ (Quality performance)ในงบ PPE , งบ PPA และงบ สนับสนุน ส่งเสริมการจัดบริการ

ทั้ง 2 ส่วน บริหารโดยจัดสรรเป็นงบสำหรับ สปสช.กลาง 10% สปสช.เขต 90% งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (12.88 บาท/ประชากร) 623.971 ลบ. 6 ปรับสัดส่วนค่าบริการ : ค่าสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการจาก 85:15 เป็น 90:10 งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (ไม่น้อยกว่า 90%) 561.574 ลบ. งบสนับสนุนและส่งเสริม การจัดบริการ (ไม่เกิน10%) 62.397 ลบ. สนับสนุนงบให้หน่วยบริการ/กองทุนฟื้นฟูฯ จว. ตามแนวทางที่กำหนด ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ จัดหา ผลิต ซ่อม ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย sub acute (บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน) ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วย ความพิการ สนับสนุนงบให้หน่วยบริการ/องค์กรคนพิการ กองทุนฟื้นฟูฯ จว. ตามแนวทางกำหนด พัฒนาระบบหน่วยบริการตามความพร้อม พัฒนาศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล พัฒนาระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท. พัฒนากำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ พัฒนาบริการรูปแบบใหม่ พัฒนาองค์ ความรู้ ทั้ง 2 ส่วน บริหารโดยจัดสรรเป็นงบสำหรับ สปสช.กลาง 10% สปสช.เขต 90%

7. การจัดสรรค่าบริการแพทย์แผนไทย ปี 2556 7.20 บ./ปชก. สิทธิ UC 1. งบค่าบริการเพิ่มเติม 6.85 บ/ปชก. (ไม่น้อยกว่า 95%) 2. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ 0.35 บ./ปชก.(ไม่เกิน5%) เสนอรวม 1.1 + 1.2 + 1.3 จัดสรรงบเป็น Global เขต ตามจำนวน ปชก. และผลงานเดิม ในสัดส่วน 70:30 จัดสรรงบเป็น Global เขต ตามจำนวน ปชก.

8. การบริหารเงินค่าเสื่อม ปี2556 (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1) ภาครัฐสังกัด สป.สธ. (A2) ตติยภูมิเขต (500 ลบ.) (A3) ภาครัฐนอก สังกัด สป.สธ. หน่วย บริการ 10302040 (A1.1) ส่วนกลาง(กสธ.) 10% หน่วย บริการ (A1.2) เขต 20% (A1.3) จังหวัด/หน่วยบริการ 70% หมายเหตุ เงินตติยภูมิ (A2) เฉพาะเขต 9 และ13 ตัดจากงบของเอกชนมารวมด้วย หน่วยบริการ จังหวัด ไม่น้อยกว่า ไม่เกิน 50% 20% หน่วยบริการ

9. งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปี 56 การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ของหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ บริหารจัดการระดับเขต เงินส่งเสริมคุณภาพ ผลงานบริการ 4.76 บ.ต่อผู้มีสิทธิ บริการผู้ป่วยในทั่วไปจาก Global budget ระดับเขต ไม่เกิน 15 บ.ต่อผู้มีสิทธิ + แบ่งวงเงินรายเขตตามจำนวนผู้มีสิทธิ วงเงินผ่านความเห็นชอบของ อปสข จำนวนผู้มีสิทธิ : 48,445,000 คน

สิทธิประโยชน์ด้านยา บัญชี จ2 มีรายการยาเข้า และ ออกจากบัญชียา จ2 ปี งบประมาณ 2555 ปี งบประมาณ 2556 รายการยา 7 รายการ - Botulinum toxin type A inj - Docetaxel inj - IVIG - Letrozole tab - Leuprorelin inj - Liposomal amphotericin B inj - Verteporfin inj รายการยา 11 รายการ มีรายการยาเพิ่มอีก 4 รายการ - Peginterferon alpha 2a และ alfa 2b inj - Ribavirin tab - Thyrotropin alfa inj - voriconazole tab , inj - Bevacizumab ตัดยาออก 1 รายการ คือ Verteporfin

Reimbursement design for special items in pharmacy Routine service capitation for OP,PP DRG with global budget for IP Reimbursement design for special items in pharmacy Central Bargaining Central procurement Medicine Local purchasing case management with on top medicine cost reimburse reimburse

The access to high cost drugs 31 March 2012 Item New case   Sum 2009 2010 2011 2012 * Letrozole 1,558 2,629 764 4,951 Docetaxel 321 657 879 1,104 2,961 IVIG 271 679 901 221 2,072 Botulinum toxin type A 102 313 704 147 1,266 Leuprorelin 146 145 281 46 618 L amphothericin B 5 68 131 26 230 Verteporfin 9 30 4 43 Total 845 3,429 5,555 2,312 12,141 ข้อมูล ถึง 31 มี.ค. 55

ระบบการโอนเงินงบกองทุน

ขั้นตอนการเบิกจ่าย และแจ้งการโอนเงินกองทุน ฯ หน่วยบริการ สปสช. ธนาคาร หน่วยบริการ โอนเงินเข้าบัญชี SMS 1. รับเงินโอน 2. รับรายงานการโอนเงิน ผ่าน website 3. รับข้อมูลแจ้งโอนเงินผ่านระบบ SMS (กรณีแจ้งขอรับ) 4. Statement (รายไตรมาส) ส่งข้อมูลขอเบิกผ่านโปรแกรม หรือส่ง เป็นเอกสารผ่านเขต/กองทุนย่อย ดึงข้อมูลจาก SAP และประมวลผลทุกคืน ตรวจสอบ และทำการเบิกจ่ายเงิน ผ่านระบบ SAP

Username และ Password เดียวกับ ACC

ตัวอย่าง กรณีค้างรับค้างจ่าย

ตัวอย่าง รายได้พึงรับ กรณีผูกพันตามนิติกรรมสัญญา

การแจ้งโอนเงินผ่าน SMS

ใส่รหัสหน่วยงาน หรือชื่อหน่วยงาน คลิก ค้นหา

โปรแกรมจะขึ้นข้อมูลหน่วยงานให้ตรวจสอบ หากถูกต้อง คลิก ตกลง

โปรแกรมจะแสดงรายชื่อผู้ที่สมัครขอรับ SMS และระบุสถานะ การสมัคร หากต้องการสมัครเพิ่มสามารถเพิ่มรายชื่อได้

ใส่รายละเอียดผู้สมัครใหม่ หรือ ตรวจสอบ/แก้ไขข้อมูลผู้สมัครเดิม