บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
Advertisements

การคลังและนโยบาย การคลัง
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
วิกฤตเศรษฐกิจยุโรป นางสาวธณัฏชา ชลายนนาวิน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
“การบริหารรายได้รายจ่ายของรัฐบาล”
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 นโยบายการคลัง(Fiscal Policy)
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
เงินเฟ้อ และเงินฝืด.
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
นโยบายการคลัง.
การงบประมาณ (Budget).
รายรับและรายจ่ายของรัฐ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
BUSINESS TAXATION ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
หมายถึง การศึกษา ทางด้านวิชาชีพในที่นี้จะพูดถึง การศึกษาด้านวิชาช่างซึ่งมีด้าน ทฤษฎีและด้านปฏิบัติ แต่จะเน้น ด้านปฏิบัติเป็นส่วนมาก.
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
20 December 2007 ดร. ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สถาบันวิจัยนโยบาย เศรษฐกิจการคลัง การบริหารการคลังกับบทบาทภาครัฐ “ เศรษฐกิจปีใหม่ กับ.
บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวทางการวิเคราะห์สำหรับภาษีอากร
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
ต้นทุนการผลิต.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
การสร้างวินัยทางการเงินการคลัง 24 กุมภาพันธ์ 2557
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

เหตุผลในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาครัฐบาล การปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจ การลดความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การดำเนินนโยบายการค้าระหว่างประเทศ

ความหมายของภาษี ( Tax ) สิ่งที่รัฐบาลบังคับเก็บจากราษฎรและนำมาใช้เพื่อประโยชน์ของสังคมส่วนรวม โดยมิได้มีสิ่งตอบแทนโดยตรงแก่ผู้เสียภาษี

ประเภทของภาษีอากร ภาษีทางตรง ( Direct tax ) คือ ผู้เสียภาษีและไม่สามารถผลักภาระภาษีและไม่สามารถผลักภาระภาษีไปให้บุคคลอื่นได้ ภาษีทางอ้อม ( Indirect tax ) ผู้เสียภาษีสามารถผลักภาระภาษีไปให้ผู้อื่นได้

ประเภทของอัตราภาษี อัตราภาษีก้าวหน้า ( Progressive tax ) อัตราภาษีที่เพิ่มสูงขึ้น เมื่อฐานภาษีรายได้ของผู้เสียภาษีเพิ่มขึ้น อัตราภาษีแบบสัดส่วน ( Proportional tax ) คือ อัตราภาษีคงที่เมื่อรายได้ของผู้เสียภาษีเปลี่ยนแปลงไป อัตราภาษีถดถอย ( Regressive tax ) คือ อัตราภาษีที่ผู้เสียภาษีเสียในอัตราที่ลดลงเมื่อรายได้ของผู้เสียภาษีเพิ่มขึ้น

รายได้ของรัฐบาล 1. รายได้จากภาษี 1.1. ภาษีจากฐานรายได้ 1.2. ภาษีจากรากฐานการบริโภค 2. รายได้ที่มิใช่ภาษี 2.1. การประกอบธุรกิจของรัฐบาล 2.2. การบริหารงาน 2.3. การขอรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศ 2.4. การกู้ยืม

หนี้สาธารณะ ( Public debt ) การกู้ยืมของรัฐบาล เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในกรณีที่รัฐบาลมีการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีสูงกว่ารายได้ของภาครัฐบาล

ประเภทของหนี้สาธารณะ 1. หนี้ในประเทศภาครัฐบาล หมายถึง ยอดหนี้คงค้างของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ที่กู้ยืมภายในประเทศ 1.1. หนี้ระยะสั้น 1.2. ระยะปานกลาง 1.3. ระยะยาว 2. หนี้ต่างประเทศ หมายถึง ยอดคงค้างหนี้สินผู้มีถิ่นฐานอยู่ในประเทศ โดยมีภาระผูกพันที่จะต้องชำระคืนให้กับผู้มีถิ่นฐานในต่างประเทศ

รายจ่ายของรัฐบาล ( Public Expenditure ) คือ การใช้จ่ายของรัฐบาลในรูปงบประมาณแผ่นดินประจำปี ที่รัฐบาลแถลงต่อรัฐสภา เพื่อให้เศรษฐกิจมีการเจริญเติบโต การกระจายรายได้และการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ

แนวทางในการใช้จ่ายงบประมาณของรัฐบาล การใช้จ่ายเพื่อรักษา ระดับการบริหารงานของรัฐบาล การใช้จ่าย เพื่อผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจส่วนรวม รายจ่าย เพื่อช่วยเหลือต่างประเทศ

เงินเฟ้อ ( Inflation ) คือ ภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการเฉลี่ย โดยทั่วไปในระบบเศรษฐกิจเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

เงินฝืด ( Deflation ) คือ การลดลงของระดับราคาสินค้าและบริการในระบบเศรษฐกิจ

ดัชนีที่ใช้ประมาณเงินเฟ้อ ดัชนีราคาผู้บริโภค ( Consumer Price Index : CPI ) หรือ ดัชนีค่าครองชีพ คือ ดัชนีวัดการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าและบริการที่มีการซื้อขายกันโดย ครัวเรือนในระบบเศรษฐกิจ ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ( GDP deflator ) คือ ดัชนีที่แสดงถึงการเพิ่มขึ้นของระดับราคาสินค้าและบริการ โดยเฉลี่ยทั้งหมดในระบบเศรษฐกิจ ดัชนีราคาผู้ผลิต ( Product Price Index : PPI ) คือ ดัชนีที่แสดงการเพิ่มขึ้นราคาสินค้าและบริการที่มีผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตสินค้า

สาเหตุการเกิดเงินเฟ้อ เงินเฟ้อจากแรงดึงอุปสงค์ ( Demand Pull Inflation ) การเพิ่มขึ้นของราคาสินค้า โดยทั่วไปอันเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของการใช้จ่าย เงินเฟ้อจากแรงผลักของต้นทุน ( Cost Push Inflation ) การเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าโยทั่วๆ ไป เนื่องจากการเพิ่มของต้นทุนการผลิต ผลด้านจิตวิทยา เช่น สินค้าขาดแคลน

ผลกระทบของเงินเฟ้อ บุคคลที่ได้รับประโยชน์ คือ ผู้ผลิต พ่อค้า และลูกหนี้ บุคคลที่เสียประโยชน์ คือ ผู้มีรายได้ประจำ ผู้ฝากเงินและเจ้าหนี้

นโยบายการคลัง ( Fiscal Policy ) คือ เครื่องมือการใช้จ่ายและภาษีของรัฐบาล เพื่อให้มีผลกระทบโดยตรงต่อผลผลิตของประเทศ การจ้างงานและระดับราคาในประเทศ

ประเภทของนโยบายการคลัง งบประมาณแบบเกินดุล ( Surplus Budget ) หรือ นโยบายการคลังแบบหดตัว คือ การจัดทำงบประมาณรายได้สูงกว่ารายจ่าย งบประมาณขาดดุล ( Deficit Budget ) หรือ นโยบายแบบขยายตัว คือ การจัดทำงบประมาณรายได้น้อยกว่ารายจ่าย งบประมาณแบบสมดุล ( Balance Budget ) คือ การจัดทำงบประมาณรายได้เท่ากับรายจ่าย