1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

การเขียนบทความ.
หลักการบันทึกข้อความ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
กระบวนการวิจัย(Research Process)
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
การศึกษารายกรณี.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
Seminar in computer Science
บทที่ 6 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
โรงเรียนศรีวัฒนาบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยีนานาชาติ
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
การอ่านออกเสียง ความมุ่งหมายในการอ่านออกเสียง
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
รากฐานของตึกคืออิฐ รากฐานของชีวิตคือหนังสือ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
หมวด2 9 คำถาม.
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การเขียนรายงานการวิจัย
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
เทคนิคการพูดและการนำเสนอ
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
ความหมายของการวิจารณ์
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
ความหมายของการวิจารณ์
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
การฝึกงาน รายวิชาในกลุ่มวิชาเอกบังคับของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา การฝึกปฏิบัติงานจริง จะทำให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์
ทักษะการอ่าน.
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การเขียนรายงาน.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา

1 การอ่าน เป็นกระบวนการของสื่อความหมายโดยที่ผู้อ่าน จะต้องพยายามแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเป็น ความคิดและพยายามทำความเข้าใจในสิ่งที่อ่าน ความสำคัญ การอ่านเป็นวิธีการหาความรู้ที่ง่ายที่สุด เพราะทำให้ ผู้อ่านทราบความเป็นไปในสังคมได้รับรู้ความคิดต่างๆ ที่ ผู้เขียนได้ถ่ายทอดไว้ในข้อเขียนทำให้ผู้อ่านเพิ่มพูนความรู้ มากขึ้นในทุกแขนงวิชา...

จุดมุ่งหมายของการอ่าน การอ่านโดยทั่วไปมีจุดมุ่งหมายดังนี้ 1. เพื่อฆ่าเวลา 2. เพื่อสนองความต้องการของตนเอง 3. เพื่อศึกษาหาความรู้ 4. เพื่อปรับปรุงอาชีพการงานให้ก้าวหน้า 5. เพื่อค้นหาสิ่งที่ต้องการ 6. เพื่อความบันเทิง 7. เพื่อประโยชน์ในการเข้าสังคม

ระดับขั้นของการอ่าน 1. อ่านเพื่อจับใจความสาระสำคัญ 2. อ่านเพื่อวิเคราะห์ 3. อ่านเพื่อตีความ

ประเภทของการอ่านมี 2 ประเภท 1. การอ่านออกเสียง 2. การอ่านในใจ การอ่านในใจที่จะให้ประโยชน์แก่ผู้อ่าน อย่างเต็มที่ควรปฏิบัติดังนี้ 1. กำหนดจุดมุ่งหมายล่วงหน้า 2. ทำความเข้าใจในเนื้อหาที่จะอ่าน 3. สำรวจข้อมูล

4. สังเกตส่วนประกอบของหนังสือ ได้แก่ 4.1 ปก 4.2 คำนำ 4.3 สารบัญ 4.4 บรรณานุกรม 4.5 ดรรชนี 4.6 อภิธานศัพท์ 5. อ่านอย่างมีสมาธิ 6. ทบทวนและใคร่ครวญ

การอ่านเร็ว ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการอ่านเร็ว 1. ความยากง่ายของเรื่อง 2. จุดมุ่งหมายในการอ่าน

การอ่านเร็วสามารถฝึกฝนได้โดยปฏิบัติดังนี้ 1. เตรียมตัวในการอ่าน 2. มีสมาธิในการอ่าน 3. ฝึกกวาดสายตา 4. กำหนดความยาวของเรื่องที่อ่านล่วงหน้า 5. ประเมินความสนใจในการอ่าน

1. เตรียมตัวในการอ่าน - ต้องการรู้อะไร การฝึกอ่านเร็ว 1. เตรียมตัวในการอ่าน - ต้องการรู้อะไร 2. มีสมาธิในการอ่าน - จดจำกับเรื่องที่อ่าน 3. ฝึกกวาดสายตา - 2 ช่วงต่อบรรทัด 4. กำหนดความยาว - ฝึกอ่านโดยใช้ ของเรื่องล่วงหน้า เวลาน้อยลง 5. ประเมินความสนใจ - จับประเด็นสำคัญได้ ในการอ่าน

หลักพื้นฐานในการอ่านหนังสือทั่วไป 1. วางเป้าหมาย 2. สำรวจข้อมูล 3. สังเกตส่วนประกอบ 4. อ่านอย่างมีสมาธิ 5. ตั้งคำถามทบทวน

การอ่านเพื่อจับใจความสำคัญ องค์ประกอบของย่อหน้า 1.ความคิดหลัก (Main Idea) คือ ประโยคใจความสำคัญ คือ ความคิดที่ผู้เขียน มุ่งเสนอต่อผู้อ่านเพื่อแสดงว่ามีผู้เขียนมี ความรู้ ความคิดเกี่ยวกับเรื่องนั้นอย่างไร

2.ประโยคขยายความ (Supporting Sentence) คือ ประโยคที่มุ่งขยายความ หรือให้รายละเอียดความคิดหลัก

ลักษณะของใจความสำคัญ สรุปได้ดังนี้ 1. เป็นข้อความที่สรุปความคิดหลัก 2. ใจความสำคัญของย่อหน้าหนึ่ง ๆ มักมีเพียงประการเดียว 3. ใจความสำคัญมักมีลักษณะเป็นประโยค

ส่วนที่ไม่ใช่ใจความสำคัญ ได้แก่ ตัวอย่าง ~ รายละเอียดต่าง ๆ ~ โวหาร ~ คำศัพท์ต่าง ๆ ~ ตัวเลข ~ สถิติ ~ คำถาม ~ คำพูดของผู้เขียน

รูปแบบของย่อหน้า 1. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนต้นย่อหน้า ใจความสำคัญ ขยายความ/รายละเอียด

2. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนท้ายย่อหน้า ขยายความ/รายละเอียด ใจความสำคัญ 3. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนต้นและตอนท้ายย่อหน้า ใจความสำคัญ ขยายความ/รายละเอียด

4. ประโยคใจความสำคัญอยู่กลางย่อหน้า รายละเอียด ใจความสำคัญ 5. ย่อหน้าไม่ปรากฎประโยคใจความสำคัญ ขยายความ ความคิดสำคัญ

* หลักในการอ่านเพื่อจับใจความสำคัญ มีดังนี้ * 1. ค้นหาใจความสำคัญ หรือ แนวความคิดในแต่ละย่อหน้า 2. ค้นหาใจความรอง คือ รายละเอียดที่สนับสนุนใจความ สำคัญให้ชัดเจน 3. หากพบศัพท์ที่ไม่เคยรู้จักมาก่อน ให้พิจารณาจาก ความหมายสิ่งแวดล้อม

วิธีขยายความในย่อหน้า 1. ขยายความโดยให้คำกำจัดความ : ใช้เมื่อต้องการให้ รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 2. ขยายความโดยให้รายละเอียด : ใช้เมื่อต้องการอธิบาย ให้รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 3. ขยายความโดยการเปรียบเทียบ : ใช้เพื่อ ให้เกิดความเข้าใจได้ลึกซึ้งกว่าการอธิบาย

4. ขยายความโดยยกตัวอย่าง : ยกตัวอย่างให้เหมาะสม กับเนื้อเรื่องเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้ชัดเจน 5. ขยายความโดยให้เหตุผล : ผู้เขียนอาจเขียนแบบ ขึ้นต้นย่อหน้าเป็นประโยคใจความสำคัญที่กล่าว ถึงเหตุ แล้วจึงกล่าวถึงผลเป็นการขยายความ

** การอ่านตำราเรียนให้ได้ดี ** 1 ** การอ่านตำราเรียนให้ได้ดี ** 1. สำรวจหนังสือ จนจบทั้งเล่ม 2. อ่านเพื่อให้ได้ แนวความคิดหลัก 6. ทบทวนอย่าง สม่ำเสมอ 5. ประสานคำบรรยาย ในชั้นกับตำราเรียน ให้เข้ากัน 3. ตั้งคำถามกับ ตนเองในขณะอ่าน 4. ขีดเส้นใต้และ เขียนบันทึก