การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
เสียง ข้อสอบ o-Net.
การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
หันหน้าไปทางทิศเหนือ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
บทที่ 1เวกเตอร์สำหรับฟิสิกส์ จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 3 ชั่วโมง
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
เวกเตอร์(Vector) โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นผิวน้ำ.
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
รายงาน เรื่อง โลกดาวเคราะห์บ้านของเรา (ตำแหน่งบนโลก) เสนอ
การดำเนินการกลุ่มที่ 1 ง การสร้างเกม คอมพิวเตอร์
เครื่องมือที่ใช้ในการกำหนดการเคลื่อนไหว
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว โดย ครูเพ็ญประภา หร่ายเจริญ ครูชำนาญการพิเศษ

ระยะทาง การเคลื่อนที่ของวัตถุ ทำให้วัตถุเปลี่ยนตำแหน่งไปจากตำแหน่งเดิม การเคลื่อนที่ของวัตถุ ทำให้วัตถุเปลี่ยนตำแหน่งไปจากตำแหน่งเดิม เมื่อวัดความยาวระหว่างตำแหน่งเดิมกับตำแหน่งใหม่ เรียกว่า ระยะทาง เป็นปริมาณสเกลาร์

การกระจัด การกระจัด (displacement) หมายถึง ระยะทางจากตำแหน่งเดิมของวัตถุไปยังตำแหน่งใหม่ ในแนวเส้นตรง จึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ เนื่องจากระบุทั้ง ขนาดและทิศทาง

ความเร็ว (velocity) ความเร็ว (Velocity) คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในแนวตรงใน 1 หน่วยเวลา และต้องบอกทิศทางด้วย สูตร ความเร็ว = การกระจัด เวลา

อัตราเร็ว (Speed) อัตราเร็ว (Speed) คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ทั้งหมดใน 1 หน่วยเวลา ไม่ต้องบอกทิศทาง เป็นปริมาณสเกลาร์ อัตราเร็ว = ระยะทาง เวลา

สมชายวิ่งจาก A ไป B ทางทิศเหนือได้ระยะทาง 120 m แล้ววิ่งจาก B ไป C ทางทิศตะวันตกได้ระยะทาง 90 m ใช้เวลา 45 วินาที ดังแผนภาพแสดงการวิ่ง 1) สมชายวิ่งจาก A ถึง C ด้วยอัตราเร็วเท่าใด 1) สมชายวิ่งจาก A ถึง C ด้วยความเร็วเท่าใด ระยะทางที่ได้ เวลาที่ใช้ อัตราเร็ว = อัตราเร็ว = ? ระยะทางที่ได้ = 120 m + 90 m = 210 m เวลาที่ใช้ = 45 s อัตราเร็ว = = 4.67 m/s สมชายวิ่งจาก A ถึง C ด้วยอัตราเร็ว 4.67 m/s

การกระจัด เวลาที่ใช้ ความเร็ว = ความเร็ว = ? การกระจัด (AC) = 150 m เวลาที่ใช้ = 45 s ความเร็ว = = 3.33 m/s สมชายวิ่งจาก A ถึง C ด้วยความเร็ว 3.33 m/s m ทิศทางจาก A ไป C