สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรน้ำ : กรมทรัพยากรน้ำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
Analyzing The Business Case
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
4.6 การคำนวณต้นทุนของส่วนราชการ วัตถุประสงค์ ส่วนราชการสามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นมาตรฐานเดียวกัน เปรียบเทียบต้นทุนกันได้ในระหว่างหน่วยงาน.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรน้ำ : กรมทรัพยากรน้ำ เครื่องมือวิเคราะห์ระดับความสำเร็จ ของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool - PART) สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรน้ำ : กรมทรัพยากรน้ำ

PART: Performance Assessment Rating Tool Tool= เครื่องมือ(หรือวิธีการ หรือเทคนิค) ไม่ใช่ระบบ (System)

ความสอดคล้องระหว่าง PART และ SPBB

โครงสร้างแผนงบประมาณตามยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ชาติ ความเชื่อมโยง เกี่ยวข้องกลุ่มเป้าหมาย แผนกลยุทธ์ Swot & Risk ตัวชี้วัด2Q2T1P และ 2QCT แผนปฏิบัติการ คำของบประมาณ ต้นทุนต่อหน่วย กิจกรรมสนับสนุน การติดตามผลรายเดือน มีระบบข้อมูลสารสนเทศ การตรวจสอบการใช้จ่าย ประเมินบุคคล การประเมินผล VFM ความคุ้มค่า โดยผู้ประเมินอิสระ มีความซ้ำซ้อนกับภารกิจหน่วยงานอื่นของภาครัฐหรือเอกชนหรือไม่ สามารถเทียบเคียงความแตกต่างได้หรือไม่

PART: หลักการและเหตุผล ให้เป็นเครื่องมือของหน่วยงานภาครัฐใช้ในการประเมินการดำเนินงานด้วยตนเอง (Self Assessment) โดยสำนักงบประมาณจะทำหน้าที่วิเคราะห์ผลการประเมิน (Assessor) ของหน่วยงานในแต่ละปีงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 – ปัจจุบัน สำนักงบประมาณได้นำแนวทางการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณไปใช้กับหน่วยงานนำร่อง 40 หน่วยงาน และได้ปรับปรุงแนวทางการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จฯ ให้สามารถนำไปใช้ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ

PART: วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐจัดทำงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ โดยตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐสามารถวัดระดับความสำเร็จในเชิงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่า เพื่อให้มีข้อมูลสารสนเทศที่สำคัญประกอบการตัดสินใจในกระบวนการจัดการงบประมาณของสำนักงบประมาณ หน่วยงานภาครัฐ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายนิติบัญญัติ

PART: ประโยชน์ หน่วยงานภาครัฐนำผลการวิเคราะห์ PART ไปใช้ในกระบวนการจัดการงบประมาณ ในการกำหนดนโยบายและปรับทิศทางการทำงาน แก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างดำเนินงาน และใช้เป็นข้อมูลปรับแผนการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มผลงาน (Performance) ให้สามารถนำส่งผลผลิตไปสู่เป้าหมายยุทธศาสตร์ของรัฐบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงบประมาณ คณะรัฐมนตรี และฝ่ายนิติบัญญัติ สามารถนำผลการวิเคราะห์ PART ไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในกระบวนการงบประมาณ โดยสามารถติดตามความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการงบประมาณให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุ้มค่า และเกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างแท้จริง

ชุดคำถาม PART 5 ชุด PART รวม 30 ข้อ เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ ความเชื่อมโยงแผน ของหน่วยงานกับ ความสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติและ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรม งบประมาณ อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยชุดคำถาม 5 ชุดจำนวน 30 ข้อ ชุดคำถาม PART 5 ชุด ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ 6 ข้อ ข. การวางแผนกลยุทธ์ 7 ข้อ จ. ผลผลิต/ ผลลัพธ์ 5 ข้อ รวม 30 ข้อ ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ 5 ข้อ ง. การบริหารจัดการ 7 ข้อ

ความสัมพันธ์ของคำถาม ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ 6 ข้อ 1 2 3 4 5 6 ข. การวางแผนกลยุทธ์ 7 ข้อ จ. การติดตามและประเมินผล 5 ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 ผลลัพธ์ เป้าหมาย ระยะยาว ผลผลิต ค.การเชื่อมโยงงบประมาณ 5 ข้อ ง. การบริหารจัดการ 7 ข้อ เป้าหมาย ประจำปี 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5

กระทรวง กรม ค่าใช้จ่าย (Cost) วางแผน (Planning) ผล (Results) SPBB PART เป้าหมายการให้บริการ กระทรวง ยุทธศาสตร์ (Ministry Strategy) ผลลัพธ์จริง (Actual Outcomes) กรม ผลลัพธ์เบื้องต้น (Preliminary Outcomes) ผลผลิตจริง เป้าหมายการให้บริการ กรม แผนกลยุทธ์ ผลผลิต / โครงการ กิจกรรมหลัก งานสนับสนุน (เพื่อนำส่งผลผลิต) กิจกรรม(สนับสนุน) ค่าใช้จ่าย (Cost) ทางตรง (Direct) ทางอ้อม (Indirect)

องค์ประกอบของชุดคำถาม เพื่อให้หน่วยงานกำหนดแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้อง เชื่อมโยงกับการบรรลุเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายการให้บริการของกระทรวงและเป้าหมายการให้บริการของหน่วยงาน การวางแผนกลยุทธ์ 7 ข้อ จุดมุ่งหมายและรูปแบบ 6 ข้อ ก เพื่อทราบถึงการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายยุทธศาสตร์ของชาติกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ของกระทรวงและเป้าหมายการให้บริการของกรม รวมทั้งการตอบสนองความต้องการต่อกลุ่มเป้าหมาย(ลูกค้า) ค เพื่อทราบถึงการจัดทำ แผนปฏิบัติการประจำปี และความเชื่อมโยงระหว่างผลผลิต กิจกรรม และงบประมาณ/ทรัพยากรรวมทั้งการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จตาม ระยะเวลาที่กำหนดทุกกิจกรรมหลัก การเชื่อมโยงงบประมาณ 5 ข้อ

ในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ องค์ประกอบของชุดคำถาม (ต่อ) จ การประเมินผล ในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ 5 ข้อ เพื่อทราบถึงความก้าวหน้าของผลผลิตและผลลัพธ์ ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน ความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจและ/หรือสังคม การเทียบเคียงผลผลิตของส่วนราชการและหน่วยงานเอกชนอื่นและผลการประเมินจากผู้ประเมินอิสระ ง เพื่อทราบถึงระบบบริหารจัดการในด้านการวางแผน ระบบสารสนเทศ และระบบข้อมูล การนำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตไปใช้ประโยชน์กระบวนการการวัดผลการดำเนินงาน และ/หรือปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า การตรวจสอบทางการเงิน และการประเมินบุคคลที่สัมพันธ์กับการนำส่งผลผลิต การบริหารจัดการ 7 ข้อ

ใครเป็นผู้ที่ตอบคำถาม PART ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงาน ตอบ หมวด ก. (โดยคณะทำงานจัดทำคำของบประมาณ) ผู้บริหารระดับสูงที่รับผิดชอบด้านยุทธศาสตร์และด้านประเมินผล ตอบ หมวด ข. (โดยคณะทำงานจัดทำคำของบประมาณ แผนยุทธศาสตร์ และรายงานการประเมินผล) ผู้บริหารที่รับผิดชอบด้านการจัดทำแผนปฏิบัติการ ตอบ หมวด ค. (โดยคณะทำงานจัดทำคำของบประมาณ และแผนปฏิบัติการ) หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิต ตอบ หมวด ง. (โดยคณะทำงานจัดทำแผนปฏิบัติการ และหัวหน้าทีมงานในกระบวนการผลิตและให้บริการ) ผู้บริหารระดับสูงที่รับผิดชอบด้านยุทธศาสตร์และด้านประเมินผล ตอบ หมวด จ. (โดยคณะทำงานจัดทำคำของบประมาณ แผนยุทธศาสตร์ และรายงานการประเมินผล) แบบฟอร์ม PART

PART ต้องการเอกสารหลัก แผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน ที่แสดงโครงสร้างยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม กลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดจำแนกผลลัพธ์ QQTTP(2Q2T1P) และผลผลิต QQCT แผนการประเมินผล (หมวด ก. หมวด ข.) ที่ผ่านความรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของหน่วยงาน (หมวด ค.) แฟ้มเอกสารรายงานเกี่ยวกับกิจกรรมสนับสนุน ได้แก่ แบบรายงานเสนอผลการติดตามรายเดือน แบบรายงานเสนอผลการการจัดทำฐานข้อมูล รายงานการประชุมที่ใช้ระบบสารสนเทศสำหรับปรับปรุงงาน หลักเกณฑ์การประเมินความคุ้มค่า รายงานการตรวจสอบของ สตง. และตัวอย่างแบบฟอร์มภาระงานรายบุคคลที่กรอกแล้ว (หมวด ง.) รายงานการประเมินผลของผลผลิตที่วัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของผลผลิต และผลกระทบ ที่ประเมินผลโดยตนเองและโดยผู้ประเมินอิสระจากภายนอก (หมวด จ.)

เอกสารที่ไม่เกี่ยวข้องและใช้ทดแทนไม่ได้ Balanced Scorecard (แทนแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน – หมวด ข.) คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ หรือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผล หรือสัญญาจ้างการออกแบบการพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อการประเมินผล (แทนแผนการประเมินผล –หมวด ข.6) รายงานเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ หรือมาตรการลดค่าใช้จ่ายตามนโยบายของรัฐบาล เช่นไฟฟ้า น้ำประปา และกระดาษรีไซเคิล (แทมาตรการที่เกิดจากการคำนวณและใช้ต้นทุนต่อหน่วย -หมวด ง.3) รายละเอียดบัญชีงบดุล รายงานการควบคุมภายในตามแนวทางของ สตง. แทนหนังสือแจ้งผลการตรวจสอบของ สตง. หมวด ง.6) แผนพัฒนาบุคลากร (แทนภาระงานรายบุคคล –หมวด ง.7) รายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หรือข้อกำหนดโครงการติดตามและประเมินผล (แทนรายงานการประเมินผลผลผลิตและผลลัพธ์ รวมทั้งการประเมินความคุ้มค่า หมวด จ.3 จ.5) รายงานประจำปีที่แสดงการจัดทำกิจกรรม หรือรายงานการประเมินผลที่ไม่ประเมินผลลัพธ์ – หมวด จ.1)

ความไม่ถูกต้องของคำอธิบายและเอกสารประกอบ คำอธิบายในแบบรายงานไม่ตรงกับคำถาม บางหน่วยงานแก้ไขคำสั่งในแบบรายงาน PART เอกสารประกอบคำตอบไม่แสดงข้อความอ้างอิงว่าอยู่ในหน้าใด เอกสารประกอบที่เป็นวาระการประชุมมีหัวข้อที่ไท่ตรงกับคำถามหรือไม่มีข้ออภิปรายในรายะเอียด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ในหมวด จ. ไม่ตรงกับแผนกลยุทธ์ในหมวด ข. หรือแผนบริหารราชการแผ่นดิน และหรือ ยุทธศาสตร์ชาติ ในหมวด ก. หมวด ง.นำเพียงแบบฟอร์เปล่ามาแสดง (หรือนำเอาส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องมาแสดง) เนื้อหาคำอธิบายในเอกสารประกอบไม่ตรงกับชื่อหน้าปก นำรายงาน “การสำรวจความพึงพอใจ” มาใช้แทน “รายงานการสำรวจความต้องการของประชาชน” บางหน่วยงานนำแผนกลยุทธศษสตร์ของพื้นที่หรือแผนบูรณาการระดับชาติมาเป็นแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน บางหน่วยงานนำแผนปฏิบัติการประจำปีมาใส่ปกแผนกลยุทธ์

ขั้นตอนการปฏิบัติงานการใช้ PART 1 ประชุมชี้แจงให้แก่ส่วนราชการฯ เกี่ยวกับแนวทางและ วิธีการประเมินโดยการใช้เครื่องมือ PART 2 ส่วนราชการฯ ประเมินตนเองตามชุดคำถาม PART และจัดทำรายงานผลการประเมินฯ พร้อมเอกสารประกอบให้สำนักงบประมาณ 3 สำนักงบประมาณ (คณะผู้พิจารณา/PART Assessor Team) พิจารณารายงานผลการประเมินฯ และเอกสารประกอบของส่วนราชการฯ

4 สำนักงบประมาณ (คณะผู้พิจารณา/PART Assessor Team) ประชุมร่วมกับส่วนราชการฯ เกี่ยวกับผลการประเมินฯ โดยอาจสอบถามและขอให้ส่วนราชการฯ ชี้แจงหรืออธิบายหรือส่งเอกสารประกอบเพิ่มเติม (แล้วแต่กรณี) 5 ส่วนราชการฯ จัดส่งคำชี้แจงหรือคำอธิบายหรือเอกสารประกอบเพิ่มเติมต่อสำนักงบประมาณ เพื่อยืนยันผลการประเมินฯ 6 สำนักงบประมาณ (คณะผู้พิจารณา/PART Assessor Team) สรุปผลการพิจารณารายงานการประเมินฯ ของส่วนราชการฯ และแจ้งผลให้ส่วนราชการฯ ทราบ

7 ส่วนราชการฯ อุทธรณ์ผลการพิจารณาฯ ต่อสำนักงบประมาณ (คณะอนุกรรมการพิจารณาฯ) ภายในระยะเวลาที่กำหนด 8 สำนักงบประมาณ (คณะอนุกรรมการพิจารณาฯ) พิจารณาตัดสินผลการอุทธรณ์ของส่วนราชการฯ และเสนอต่อคณะกรรมการกลั่นกรองฯ (มีผู้อำนวยการสำนักงบประมาณเป็นประธาน) เพื่อให้ความเห็นชอบ 9 สำนักงบประมาณจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินระดับความสำเร็จของการใช้จ่ายงบประมาณของส่วนราชการฯทั้งหมดเพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรีและสาธารณะ

การเกณฑ์การให้คะแนนและจัดกลุ่ม PART ช่วงคะแนน จัดกลุ่ม 100 - 85 84 - 60 ต่ำกว่า 60 เขียว เหลือง แดง

ตัวอย่างการคำนวณคะแนน PART ร้อยละของคะแนนที่ได้ ตัวอย่าง Radar Graph ตัวอย่างการคำนวณคะแนน PART หมวดคำถาม คะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม ร้อยละของคะแนนที่ได้ ก 6.67 10 66.7 ข 14.29 20 71.45 ค 100 ง จ 18 30 60 รวม 73.25 เหลือง

คะแนนหายไปไหน? ไม่ได้ประเมินความคุ้มค่า (ง5 จ3) (ม.22) 2.86+6.0 = 8.86 ไม่ได้ประเมินความคุ้มค่า (ง5 จ3) (ม.22) 2.86+6.0 = 8.86 ไม่ได้ประเมินผลลัพธ์ตามแผนกลยุทธ์ (จ1) (ม.6,16) = 6.0 ไม่มีตัวชี้วัดผลผลิต-ผลลัพธ์ในแผนกลยุทธ์ (ข2 ข3) (ม.14) 2.86+2.86 = 5.72 ไม่มีแผนกลยุทธ์และไม่ปรับแผนกลยุทธ์ (ข1 ข7) (ม.13,16) 2.86+2.86 = 5.72 ไม่มีข้อมูลตามเวลาและการใช้ระบบข้อมูล (ง2 ง3) (ม.16,9) 2.86+2.86 = 5.72 ไม่เชื่อมโยงค่าเป้าหมายระดับชาติ (ก2) (ม.6) = 1.67 ไม่ประเมินบุคคลที่เชื่อมโยงกับผลผลิต (ง7) (ม.47) = 2.86 ไม่ได้ใช้ต้นทุนต่อหน่วย (ง4) (ม.21) = 2.86 ไม่จัดหาผู้ประเมินอิสระ (ข5 จ3) (ม.45) 2.86+6.0 = 8.86

ตัวอย่างแผนปฏิบัติงาน (กิจกรรมและขั้นตอน) ปริมาณงาน/งบประมาณ แผน/ผล 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 หน่วยงาน 1. (หน่วย) แผน = ผล (ล้านบาท) แผนใช้เงิน ผลการเบิก 1.1 - 1.2 2. 2.1 2.2 พร้อมแผนภูมิ Bar Chart แสดง แผนงานและแผนเงิน

ขอขอบคุณทุกท่าน สวัสดีปีใหม่ ๒๕๕๓