สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรน้ำ : กรมทรัพยากรน้ำ เครื่องมือวิเคราะห์ระดับความสำเร็จ ของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool - PART) สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรน้ำ : กรมทรัพยากรน้ำ
PART: Performance Assessment Rating Tool Tool= เครื่องมือ(หรือวิธีการ หรือเทคนิค) ไม่ใช่ระบบ (System)
ความสอดคล้องระหว่าง PART และ SPBB
โครงสร้างแผนงบประมาณตามยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ชาติ ความเชื่อมโยง เกี่ยวข้องกลุ่มเป้าหมาย แผนกลยุทธ์ Swot & Risk ตัวชี้วัด2Q2T1P และ 2QCT แผนปฏิบัติการ คำของบประมาณ ต้นทุนต่อหน่วย กิจกรรมสนับสนุน การติดตามผลรายเดือน มีระบบข้อมูลสารสนเทศ การตรวจสอบการใช้จ่าย ประเมินบุคคล การประเมินผล VFM ความคุ้มค่า โดยผู้ประเมินอิสระ มีความซ้ำซ้อนกับภารกิจหน่วยงานอื่นของภาครัฐหรือเอกชนหรือไม่ สามารถเทียบเคียงความแตกต่างได้หรือไม่
PART: หลักการและเหตุผล ให้เป็นเครื่องมือของหน่วยงานภาครัฐใช้ในการประเมินการดำเนินงานด้วยตนเอง (Self Assessment) โดยสำนักงบประมาณจะทำหน้าที่วิเคราะห์ผลการประเมิน (Assessor) ของหน่วยงานในแต่ละปีงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 – ปัจจุบัน สำนักงบประมาณได้นำแนวทางการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณไปใช้กับหน่วยงานนำร่อง 40 หน่วยงาน และได้ปรับปรุงแนวทางการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จฯ ให้สามารถนำไปใช้ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
PART: วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐจัดทำงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ โดยตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐสามารถวัดระดับความสำเร็จในเชิงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่า เพื่อให้มีข้อมูลสารสนเทศที่สำคัญประกอบการตัดสินใจในกระบวนการจัดการงบประมาณของสำนักงบประมาณ หน่วยงานภาครัฐ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายนิติบัญญัติ
PART: ประโยชน์ หน่วยงานภาครัฐนำผลการวิเคราะห์ PART ไปใช้ในกระบวนการจัดการงบประมาณ ในการกำหนดนโยบายและปรับทิศทางการทำงาน แก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างดำเนินงาน และใช้เป็นข้อมูลปรับแผนการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มผลงาน (Performance) ให้สามารถนำส่งผลผลิตไปสู่เป้าหมายยุทธศาสตร์ของรัฐบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงบประมาณ คณะรัฐมนตรี และฝ่ายนิติบัญญัติ สามารถนำผลการวิเคราะห์ PART ไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในกระบวนการงบประมาณ โดยสามารถติดตามความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการงบประมาณให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุ้มค่า และเกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างแท้จริง
ชุดคำถาม PART 5 ชุด PART รวม 30 ข้อ เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ ความเชื่อมโยงแผน ของหน่วยงานกับ ความสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติและ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรม งบประมาณ อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยชุดคำถาม 5 ชุดจำนวน 30 ข้อ ชุดคำถาม PART 5 ชุด ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ 6 ข้อ ข. การวางแผนกลยุทธ์ 7 ข้อ จ. ผลผลิต/ ผลลัพธ์ 5 ข้อ รวม 30 ข้อ ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ 5 ข้อ ง. การบริหารจัดการ 7 ข้อ
ความสัมพันธ์ของคำถาม ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ 6 ข้อ 1 2 3 4 5 6 ข. การวางแผนกลยุทธ์ 7 ข้อ จ. การติดตามและประเมินผล 5 ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 ผลลัพธ์ เป้าหมาย ระยะยาว ผลผลิต ค.การเชื่อมโยงงบประมาณ 5 ข้อ ง. การบริหารจัดการ 7 ข้อ เป้าหมาย ประจำปี 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
กระทรวง กรม ค่าใช้จ่าย (Cost) วางแผน (Planning) ผล (Results) SPBB PART เป้าหมายการให้บริการ กระทรวง ยุทธศาสตร์ (Ministry Strategy) ผลลัพธ์จริง (Actual Outcomes) กรม ผลลัพธ์เบื้องต้น (Preliminary Outcomes) ผลผลิตจริง เป้าหมายการให้บริการ กรม แผนกลยุทธ์ ผลผลิต / โครงการ กิจกรรมหลัก งานสนับสนุน (เพื่อนำส่งผลผลิต) กิจกรรม(สนับสนุน) ค่าใช้จ่าย (Cost) ทางตรง (Direct) ทางอ้อม (Indirect)
องค์ประกอบของชุดคำถาม เพื่อให้หน่วยงานกำหนดแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้อง เชื่อมโยงกับการบรรลุเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายการให้บริการของกระทรวงและเป้าหมายการให้บริการของหน่วยงาน การวางแผนกลยุทธ์ 7 ข้อ จุดมุ่งหมายและรูปแบบ 6 ข้อ ก เพื่อทราบถึงการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายยุทธศาสตร์ของชาติกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ของกระทรวงและเป้าหมายการให้บริการของกรม รวมทั้งการตอบสนองความต้องการต่อกลุ่มเป้าหมาย(ลูกค้า) ค เพื่อทราบถึงการจัดทำ แผนปฏิบัติการประจำปี และความเชื่อมโยงระหว่างผลผลิต กิจกรรม และงบประมาณ/ทรัพยากรรวมทั้งการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จตาม ระยะเวลาที่กำหนดทุกกิจกรรมหลัก การเชื่อมโยงงบประมาณ 5 ข้อ
ในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ องค์ประกอบของชุดคำถาม (ต่อ) จ การประเมินผล ในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ 5 ข้อ เพื่อทราบถึงความก้าวหน้าของผลผลิตและผลลัพธ์ ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน ความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจและ/หรือสังคม การเทียบเคียงผลผลิตของส่วนราชการและหน่วยงานเอกชนอื่นและผลการประเมินจากผู้ประเมินอิสระ ง เพื่อทราบถึงระบบบริหารจัดการในด้านการวางแผน ระบบสารสนเทศ และระบบข้อมูล การนำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตไปใช้ประโยชน์กระบวนการการวัดผลการดำเนินงาน และ/หรือปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า การตรวจสอบทางการเงิน และการประเมินบุคคลที่สัมพันธ์กับการนำส่งผลผลิต การบริหารจัดการ 7 ข้อ
ใครเป็นผู้ที่ตอบคำถาม PART ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงาน ตอบ หมวด ก. (โดยคณะทำงานจัดทำคำของบประมาณ) ผู้บริหารระดับสูงที่รับผิดชอบด้านยุทธศาสตร์และด้านประเมินผล ตอบ หมวด ข. (โดยคณะทำงานจัดทำคำของบประมาณ แผนยุทธศาสตร์ และรายงานการประเมินผล) ผู้บริหารที่รับผิดชอบด้านการจัดทำแผนปฏิบัติการ ตอบ หมวด ค. (โดยคณะทำงานจัดทำคำของบประมาณ และแผนปฏิบัติการ) หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิต ตอบ หมวด ง. (โดยคณะทำงานจัดทำแผนปฏิบัติการ และหัวหน้าทีมงานในกระบวนการผลิตและให้บริการ) ผู้บริหารระดับสูงที่รับผิดชอบด้านยุทธศาสตร์และด้านประเมินผล ตอบ หมวด จ. (โดยคณะทำงานจัดทำคำของบประมาณ แผนยุทธศาสตร์ และรายงานการประเมินผล) แบบฟอร์ม PART
PART ต้องการเอกสารหลัก แผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน ที่แสดงโครงสร้างยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม กลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดจำแนกผลลัพธ์ QQTTP(2Q2T1P) และผลผลิต QQCT แผนการประเมินผล (หมวด ก. หมวด ข.) ที่ผ่านความรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของหน่วยงาน (หมวด ค.) แฟ้มเอกสารรายงานเกี่ยวกับกิจกรรมสนับสนุน ได้แก่ แบบรายงานเสนอผลการติดตามรายเดือน แบบรายงานเสนอผลการการจัดทำฐานข้อมูล รายงานการประชุมที่ใช้ระบบสารสนเทศสำหรับปรับปรุงงาน หลักเกณฑ์การประเมินความคุ้มค่า รายงานการตรวจสอบของ สตง. และตัวอย่างแบบฟอร์มภาระงานรายบุคคลที่กรอกแล้ว (หมวด ง.) รายงานการประเมินผลของผลผลิตที่วัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของผลผลิต และผลกระทบ ที่ประเมินผลโดยตนเองและโดยผู้ประเมินอิสระจากภายนอก (หมวด จ.)
เอกสารที่ไม่เกี่ยวข้องและใช้ทดแทนไม่ได้ Balanced Scorecard (แทนแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน – หมวด ข.) คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ หรือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผล หรือสัญญาจ้างการออกแบบการพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อการประเมินผล (แทนแผนการประเมินผล –หมวด ข.6) รายงานเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ หรือมาตรการลดค่าใช้จ่ายตามนโยบายของรัฐบาล เช่นไฟฟ้า น้ำประปา และกระดาษรีไซเคิล (แทมาตรการที่เกิดจากการคำนวณและใช้ต้นทุนต่อหน่วย -หมวด ง.3) รายละเอียดบัญชีงบดุล รายงานการควบคุมภายในตามแนวทางของ สตง. แทนหนังสือแจ้งผลการตรวจสอบของ สตง. หมวด ง.6) แผนพัฒนาบุคลากร (แทนภาระงานรายบุคคล –หมวด ง.7) รายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หรือข้อกำหนดโครงการติดตามและประเมินผล (แทนรายงานการประเมินผลผลผลิตและผลลัพธ์ รวมทั้งการประเมินความคุ้มค่า หมวด จ.3 จ.5) รายงานประจำปีที่แสดงการจัดทำกิจกรรม หรือรายงานการประเมินผลที่ไม่ประเมินผลลัพธ์ – หมวด จ.1)
ความไม่ถูกต้องของคำอธิบายและเอกสารประกอบ คำอธิบายในแบบรายงานไม่ตรงกับคำถาม บางหน่วยงานแก้ไขคำสั่งในแบบรายงาน PART เอกสารประกอบคำตอบไม่แสดงข้อความอ้างอิงว่าอยู่ในหน้าใด เอกสารประกอบที่เป็นวาระการประชุมมีหัวข้อที่ไท่ตรงกับคำถามหรือไม่มีข้ออภิปรายในรายะเอียด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ในหมวด จ. ไม่ตรงกับแผนกลยุทธ์ในหมวด ข. หรือแผนบริหารราชการแผ่นดิน และหรือ ยุทธศาสตร์ชาติ ในหมวด ก. หมวด ง.นำเพียงแบบฟอร์เปล่ามาแสดง (หรือนำเอาส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องมาแสดง) เนื้อหาคำอธิบายในเอกสารประกอบไม่ตรงกับชื่อหน้าปก นำรายงาน “การสำรวจความพึงพอใจ” มาใช้แทน “รายงานการสำรวจความต้องการของประชาชน” บางหน่วยงานนำแผนกลยุทธศษสตร์ของพื้นที่หรือแผนบูรณาการระดับชาติมาเป็นแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน บางหน่วยงานนำแผนปฏิบัติการประจำปีมาใส่ปกแผนกลยุทธ์
ขั้นตอนการปฏิบัติงานการใช้ PART 1 ประชุมชี้แจงให้แก่ส่วนราชการฯ เกี่ยวกับแนวทางและ วิธีการประเมินโดยการใช้เครื่องมือ PART 2 ส่วนราชการฯ ประเมินตนเองตามชุดคำถาม PART และจัดทำรายงานผลการประเมินฯ พร้อมเอกสารประกอบให้สำนักงบประมาณ 3 สำนักงบประมาณ (คณะผู้พิจารณา/PART Assessor Team) พิจารณารายงานผลการประเมินฯ และเอกสารประกอบของส่วนราชการฯ
4 สำนักงบประมาณ (คณะผู้พิจารณา/PART Assessor Team) ประชุมร่วมกับส่วนราชการฯ เกี่ยวกับผลการประเมินฯ โดยอาจสอบถามและขอให้ส่วนราชการฯ ชี้แจงหรืออธิบายหรือส่งเอกสารประกอบเพิ่มเติม (แล้วแต่กรณี) 5 ส่วนราชการฯ จัดส่งคำชี้แจงหรือคำอธิบายหรือเอกสารประกอบเพิ่มเติมต่อสำนักงบประมาณ เพื่อยืนยันผลการประเมินฯ 6 สำนักงบประมาณ (คณะผู้พิจารณา/PART Assessor Team) สรุปผลการพิจารณารายงานการประเมินฯ ของส่วนราชการฯ และแจ้งผลให้ส่วนราชการฯ ทราบ
7 ส่วนราชการฯ อุทธรณ์ผลการพิจารณาฯ ต่อสำนักงบประมาณ (คณะอนุกรรมการพิจารณาฯ) ภายในระยะเวลาที่กำหนด 8 สำนักงบประมาณ (คณะอนุกรรมการพิจารณาฯ) พิจารณาตัดสินผลการอุทธรณ์ของส่วนราชการฯ และเสนอต่อคณะกรรมการกลั่นกรองฯ (มีผู้อำนวยการสำนักงบประมาณเป็นประธาน) เพื่อให้ความเห็นชอบ 9 สำนักงบประมาณจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินระดับความสำเร็จของการใช้จ่ายงบประมาณของส่วนราชการฯทั้งหมดเพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรีและสาธารณะ
การเกณฑ์การให้คะแนนและจัดกลุ่ม PART ช่วงคะแนน จัดกลุ่ม 100 - 85 84 - 60 ต่ำกว่า 60 เขียว เหลือง แดง
ตัวอย่างการคำนวณคะแนน PART ร้อยละของคะแนนที่ได้ ตัวอย่าง Radar Graph ตัวอย่างการคำนวณคะแนน PART หมวดคำถาม คะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม ร้อยละของคะแนนที่ได้ ก 6.67 10 66.7 ข 14.29 20 71.45 ค 100 ง จ 18 30 60 รวม 73.25 เหลือง
คะแนนหายไปไหน? ไม่ได้ประเมินความคุ้มค่า (ง5 จ3) (ม.22) 2.86+6.0 = 8.86 ไม่ได้ประเมินความคุ้มค่า (ง5 จ3) (ม.22) 2.86+6.0 = 8.86 ไม่ได้ประเมินผลลัพธ์ตามแผนกลยุทธ์ (จ1) (ม.6,16) = 6.0 ไม่มีตัวชี้วัดผลผลิต-ผลลัพธ์ในแผนกลยุทธ์ (ข2 ข3) (ม.14) 2.86+2.86 = 5.72 ไม่มีแผนกลยุทธ์และไม่ปรับแผนกลยุทธ์ (ข1 ข7) (ม.13,16) 2.86+2.86 = 5.72 ไม่มีข้อมูลตามเวลาและการใช้ระบบข้อมูล (ง2 ง3) (ม.16,9) 2.86+2.86 = 5.72 ไม่เชื่อมโยงค่าเป้าหมายระดับชาติ (ก2) (ม.6) = 1.67 ไม่ประเมินบุคคลที่เชื่อมโยงกับผลผลิต (ง7) (ม.47) = 2.86 ไม่ได้ใช้ต้นทุนต่อหน่วย (ง4) (ม.21) = 2.86 ไม่จัดหาผู้ประเมินอิสระ (ข5 จ3) (ม.45) 2.86+6.0 = 8.86
ตัวอย่างแผนปฏิบัติงาน (กิจกรรมและขั้นตอน) ปริมาณงาน/งบประมาณ แผน/ผล 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 หน่วยงาน 1. (หน่วย) แผน = ผล (ล้านบาท) แผนใช้เงิน ผลการเบิก 1.1 - 1.2 2. 2.1 2.2 พร้อมแผนภูมิ Bar Chart แสดง แผนงานและแผนเงิน
ขอขอบคุณทุกท่าน สวัสดีปีใหม่ ๒๕๕๓