การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Advertisements

การประสานงาน.
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
The Power of Communication
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
น.ส. บุญศรี โชติวรรณวิวัฒน์
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
การเจรจาต่อรอง.
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
ความขัดแย้ง ( Conflict )
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 12.
LEADERSHIP.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การจูงใจ (Motivation)
สุขภาพจิต และการปรับตัว
มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
ประเด็นสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
Participation : Road to Success
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการควบคุมภายใน
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
การจัดการความขัดแย้ง (Conflict Management)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
คุณลักษณะผู้นำของผู้จัดการ
กรอบในการวิเคราะห์ ผลกระทบจากโครงการ พัฒนาของรัฐ.
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
การสร้างทีมงานในการบริหารโครงการ
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
Change Management.
วิพากษ์วิจารณ์ข้อดีของทฤษฎี
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร อาจารย์ประจำภาควิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

แนวทางการแก้ปัญหา ขั้นตอนการแก้ปัญหา 1. การยอมรับถึงปัญหา 2. กำจัดขอบเขตของปัญหา 3. กำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหา 4. การลงมือทำตามแผน 5. การติดตาม

การบริหารความขัดแย้ง ความขัดแย้ง คือ สิ่งที่ทำให้เกิดความไม่สอดคล้องกันหรือความรู้สึกที่ไม่ตรงกัน การบริหารความขัดแย้ง คือ การทำให้เกิดความรู้สึกที่ยอมรับถึงปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้อง หรือลงตัวร่วมกันได้

การบริหารความขัดแย้ง Robbins ได้เสนอเทคนิคการแก้ปัญหาความขัดแย้ง 9 วิธี คือ (1) การแก้ปัญหาหรือเป็นที่รู้จักกันดีว่า เป็นการแก้ปัญหาแบบเผชิญหน้ากัน หรือการร่วมมือร่วมใจกันแก้ปัญหา กลุ่มต่าง ๆ จะร่วมกันกำหนดปัญหา ประเมินผลและแก้ปัญหา จุดแข็งของวิธีการนี้จะมีประสิทธิผลเมื่อความขัดแย้งนี้เกิดจากอุปสรรคของการสื่อสาร เข้าใจไม่ตรงกัน วิธีการแก้ปัญหาจะช่วยบรรเทาลงได้กับบุคคลที่ให้ความสำคัญกับการประนีประนอม หรือต้องการแก้ไขกับบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง จุดอ่อนอาจเสียเวลาสำหรับความขัดแย้งที่ไม่มีสาเหตุจากการสื่อสารโดยเฉพาะความขัดแย้งที่มีพื้นฐานมาจากความแตกต่างในค่านิยม

การบริหารความขัดแย้ง (2) การพิจารณาวัตถุประสงค์ระดับสูง การนำเอาวัตถุประสงค์ทั่วไป ซึ่ง 2 กลุ่มหรือมากกว่ากำลังขัดแย้งกันอยู่ ซึ่งแต่ละกลุ่มต้องการ และไม่สามารถบรรลุจุดหมายได้ ถ้าปราศจากความช่วยเหลือจากกลุ่มที่เกี่ยวข้องเพื่อช่วยกันค้นหาวิธีการที่ดีที่สุด จุดเด่นของวิธีการนี้คือ เน้นความร่วมมือ มีการเสริมแรง เน้นสันติวิธี เน้นความร่วมมือที่ต้องพึ่งพากัน จุดอ่อน ยากที่จะตั้งวัตถุประสงค์สูงสุดได้ (3) การเพิ่มทรัพยากร ใช้ทรัพยากรเพิ่มขึ้น จุดแข็งของวิธีการนี้คือ ทำให้แต่ละกลุ่มได้รับชัยชนะ จุดอ่อนทรัพยากรมีอยู่น้อย ยากที่จะเพิ่ม

การบริหารความขัดแย้ง (4) การหลีกเลี่ยง หนี รวมทั้งการถอนตัวและการกดไว้ จุดเด่น ง่ายที่จะกระทำ อาจทำให้กลุ่มต่าง ๆ ใจเย็นลง จุดอ่อนวิธีการนี้ไม่มีประสิทธิผลความขัดแย้งไม่ได้ขจัดไปเป็นการระงับช่วยคราว (5) กลบให้เรียบ ลืมส่วนที่แตกต่าง เน้นส่วนที่เหมือนกันมาเป็นพื้นฐานของความร่วมมือในส่วนที่เหมือนกัน เน้นความกลมกลืน หลีกเลี่ยงการแตกแยก จุดอ่อนความแตกต่างทั้งหลายไม่ได้เปิดเผยกัน ยังกดไว้ เป็นการระงับชั่วคราว

การบริหารความขัดแย้ง (6) การประนีประนอม ต้องการให้แต่ละกลุ่มเลิกค่านิยมบางสิ่งบางอย่าง รวมทั้งให้บุคคลภายนอกหรือกลุ่มที่สาม มาเจรจาตกลงกัน และให้มีการลงมติ จุดแข็งไม่มีใครต้องพ่ายแพ้อย่างเด็ดขาด เป็นลักษณะของประชาธิปไคย เป็นวิธีการที่เหมาะภายใต้ข้อจำกัดทางด้านเวลา จุดอ่อน ไม่มีใครเป็นผู้ชนะอย่างเด็ดขาด มุ่งเน้นอำนาจอิทธิพลของกลุ่ม เป็นการแก้ปัญหาชั่วคราว

การบริหารความขัดแย้ง (7) การใช้อำนาจบังคับเป็นการแก้ปัญหาแบบผู้บริหารใช้อำนาจในตำแหน่งบังคับ จุดเด่นมีประสิทธิผลมากถ้าผู้ใต้บังคับบัญชายอมรับอำนาจของผู้บังคับบัญชา ดีสำหรับกรณีฉุกเฉิน หรือการปฏิบัติการที่ล้าสมัย จำเป็นต้องใช้อำนาจบังคับ จุดอ่อน สาเหตุของความขัดแย้งไม่ได้รับการแก้ไขตกลงกันไม่ได้ เป็นการแก้ปัญหาชั่วคราว (8) การเปลี่ยนเปลี่ยนพฤติกรรมและเจตคติของกลุ่มบุคคลที่กำลังขัดแย้งกัน การให้การศึกษา การฝึกความมีเหตุผล ฝึกมนุษยสัมพันธ์จุดเด่นให้ผลอย่างแท้จริงและถาวรบรรเทาสาเหตุความขัดแย้ง จุดอ่อนยากที่จะทำได้สำเร็จช้าและเสียเงินมา

การบริหารความขัดแย้ง (9) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเปลี่ยนแปลงสมาชิกของกลุ่ม เพิ่มตำแหน่งประสนงาน พัฒนาระบบ ขยายกลุ่มหรือขยายขอบข่ายขององค์การจุดแข็งอาจเป็นการแก้ปัญหาอย่างถาวร ปกติขึ้นอยู่กับอำนาจของผู้บริหาร จุดอ่อนเสียค่าใช้จ่ายสูง แรงผลักดันขององค์การที่ออกแบบเฉพาะให้กับสมาชิกแต่ละคนจะทำให้สมาชิกปรับตัวเข้ากับองค์การ หรืออาจลาออกจากองค์การไป

อ้างอิง ประชุม โพธิกุล. การบริหารความขัดแย้งตามสถานการณ์ :http://www.moe.go.th/wijai/confict.htm http://www.training.moodyinfo.com/index.php/iso-article/173-2009-10-27-12-10-14.html