เกษตรอินทรีย์ (Organic)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
ประเด็นการตรวจติดตาม
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
องค์กรภาครัฐในส่วนกลางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สหกรณ์ วาระแห่งชาติ ข้อเสนอปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสหกรณ์ คณะอนุกรรมการด้านปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสหกรณ์
เครื่องหมายสินค้ามาตรฐานสหกรณ์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
โครงการอาหารปลอดภัย (Food Safety)
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
กระบวนการจัดการความรู้
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
วิสัยทัศน์ “ เป็นองค์กรที่พัฒนาระบบการบริหารจัดการ
การบริหารจัดการข้าวอินทรีย์ในระดับเกษตรกร
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
การรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาววิไลวรรณ ดุลยพัฒน์
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหาร จัดการศูนย์บริการฯ หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม ส่งเสริมการผลิตสินค้า ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ส่งเสริมการผลิตสินค้า.
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
แนวทางการบริหารจัดการผลไม้ระยะยาว
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2551 รายเดือน จดหมายข่าว Food Safety ประจำเดือนนี้ ขอเสนอเรื่องที่ทำให้ กรมส่งเสริมการเกษตรได้มี หนังสือให้เขต ศูนย์ปฏิบัติการ.
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
บริการตรวจวิเคราะห์ สารพิษตกค้าง เพื่อสนับสนุนความมั่นใจให้แก่ เกษตรกรเมื่อดำเนินการผลิตตาม คำแนะนำของเจ้าหน้าที่แล้ว ผลผลิต ที่ได้จะไม่มีสารพิษตกค้าง.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
โครงสร้างสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดระนอง
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
1 ประกาศสำนักงานมาตรฐานสินค้า เกษตรและอาหารแห่งชาติ เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์การใช้ชื่อย่อ ของมาตรฐานสินค้าเกษตร ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 15 พฤศจิกายน.
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกษตรอินทรีย์ (Organic) ประเภทของการรับรอง 1.รับรองสินค้า (Product Certification) เกษตรอินทรีย์ (Organic) มาตรฐาน GAP

ประเภทของการรับรอง 1.รับรองสินค้า (Product Certification) เนื้อสัตว์อนามัย ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ

ประเภทของการรับรอง 2.รับรองระบบ GMP/HACCP ระบบ HACCP

เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”

หลักเกณฑ์การใช้เครื่องหมายรับรอง “Q ” - การผลิตในระดับฟาร์มต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) สำหรับการผลิตสินค้านั้นและได้รับการตรวจสอบรับรองโดยหน่วยรับรองทีมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวข้อง - การผลิตในระดับโรงงานรวมทั้งโรงคัดบรรจุผักผลไม้ โรงฆ่าสัตว์ ต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการปฏิบัติในการผลิตที่ดี (GMP) มาตรฐานการวิเคราะห์ อันตรายและจุดควบคุมวิกฤต (HACCP) และได้รับการรับรองโดยหน่วยรับรองที่มีอำนาจเกี่ยวข้อง - ผู้ขออนุญาตใช้เครื่องหมายต้องมีระบบการเรียกคืนหรือติดตามสินค้าได้ กรณีที่พบว่าสินค้ามีปัญหา

หลักเกณฑ์การใช้เครื่องหมายรับรอง “Q Premium ” - สินค้านั้นผ่านการคัดแยกระดับชั้นคุณภาพ (Grading) และหรือผ่านกระบวนการผลิตบรรจุ ดูแล ขนส่งพิเศษ ทำให้สินค้ามีคุณภาพอยู่ในระดับพิเศษ โดยการอ้างอิงมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การใช้เครื่องหมายรับรอง “Q” และ “Q Premium ” กับสินค้าเกษตรและอาหาร - ผู้ขออนุญาตใช้เครื่องหมายต้องมีระบบการจัดการสินค้า เพื่อให้มั่นใจว่าสินค้าที่วางจำหน่ายยังคงคุณภาพตามมาตรฐาน รวมถึงการระบุวันที่ผลิต บรรจุ หรือวันบริโภคก่อน

บทบาทและหน้าที่ของหน่วยรับรองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมวิชาการเกษตร ตรวจสอบ กำกับดูแลให้การรับรองสินค้าและ ระบบที่เกี่ยวข้องกับพืชและผลิตภัณฑ์ กรมประมง ตรวจสอบ กำกับดูแลให้การรับรองสินค้าและ ระบบที่เกี่ยวข้องกับสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ และ อาหารสัตว์น้ำ กรมปศุสัตว์ ตรวจสอบ กำกับดูแลให้การรับรองสินค้าและ ระบบที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ และ อาหารสัตว์

บทบาทและหน้าที่ของหน่วยรับรองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมส่งเสริมการเกษตร ส่งเสริมให้ความรู้และให้กับแนะนำแก่ เกษตรกรและเป็นหน่วยประสานงานให้ เกษตรกร และกลุ่มเกษตรกร ขอการ รับรองเครื่องหมาย “Q” จากหน่วยงาน หลักที่เกี่ยวข้อง กรมพัฒนาที่ดิน ตรวจสอบดูแลให้การรับรองสินค้า ประเภทปัจจัยการผลิตทางการเกษตร เช่น ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ สารปรับปรุงดิน เป็นต้น

บทบาทและหน้าที่ของหน่วยรับรองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ ส่งเสริมให้ความรู้และให้กับแนะนำแก่ เกษตรกรหรือประชาชนทั่วไปรวมกลุ่มกันจัดตั้ง เป็นองค์กร เพื่อร่วมกันดำเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกิจและส่งเสริมแนะนำองค์กรเหล่านั้น บริหารจัดการองค์กรตามหลักการ และวิธีการ สหกรณ์ และเป็นหน่วยประสานงานให้สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนขอการรับรอง เครื่องหมาย “Q” จากหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง

บทบาทและหน้าที่ของหน่วยรับรองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร ส่งเสริมให้ความรู้ด้านตลาด คลังสินค้า และให้การรับรองในส่วนที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการดำเนินการให้เครื่องหมายรับรอง “Q”

จบการนำเสนอ