อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง
Advertisements

ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
แบบสอบถามประกอบการศึกษา
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวัดและประเมินผลการศึกษา
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
อสมการ.
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การจัดเตรียมข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ ด้วย
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
Menu Analyze > Correlate
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
ตัวดำเนินการ(Operator)
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
แบบสังเกต (Observation form)
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
Criterion-related Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
4.ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio scale)
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
สหสัมพันธ์ (correlation)
การวิเคราะห์ข้อมูล.
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
วิจัย (Research) คือ อะไร
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
การวิเคราะห์สถิติ SPSS for Windows
คะแนนและความหมายของคะแนน
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
(Descriptive Statistics)
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
บทที่ 5 การวัดและการสร้างสเกล
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบสอบถามที่ดี ผู้ตอบจะตอบอย่างสะดวกใจมากกว่าการสัมภาษณ์
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา 1.มาตรานามบัญญัติ (Nominal scale) เป็นการวัดอย่างหยาบๆ บอกความแตกต่างโดยลักษณะของการแยกกลุ่ม แต่ไม่สามารถบอกเป็นตัวเลขได้ และไม่สามารถระบุได้ว่าดีกว่าหรือด้อยกว่า มักเป็นตัวแปรที่เป็นข้อมูลเชิงคุณลักษณะ เช่น อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา มีคุณสมบัติเท่าเทียมกันทุกประการ ไม่มีความหมายในเชิงปริมาณ ไม่สามารถนำมาบวก ลบ คูณหารได้ แต่สามารถแจกแจงความถี่ได้ ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา ตัวแปร คุณลักษณะที่แสดงความแตกต่าง เพศ ชาย หญิง อาชีพ รับจ้าง รับราชการ ค้าขาย เชื้อชาติ ไทย จีน ลาว อาการของโรค รุนแรง ไม่รุนแรง/เรื้อรัง เฉียบพลัน ในการเก็บข้อมูลเชิงคุณลักษณะตามระดับนามมาตรา อาจกำหนดตัวเลขแทนคุณลักษณะ เช่น อาชีพรับจ้างให้รหัสเลข 1 อาชีพรับราชการเลข 2 อาชีพค้าขายเลข 3 ตัวเลข 1 , 2 , 3 เป็นตัวเลขที่แสดงความแตกต่างของตัวแปรเท่านั้น มิได้หมายถึง ปริมาณมากน้อยกว่ากัน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ยังสามารถแสดงปริมาณความมากน้อย (Magnitude) จัดเรียงลำดับได้ 2.มาตราเรียงอันดับ (Ordinal scale) เป็นระดับการวัดที่มีคุณสมบัติการวัดที่สูงกว่า มาตรานามบัญญัติ ตัวเลขหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนคุณลักษณะแต่ละหน่วย นอกจากบอกชื่อและจำแนกแล้ว ยังสามารถแสดงปริมาณความมากน้อย (Magnitude) จัดเรียงลำดับได้ แต่ช่วงของความห่างของแต่ละอันดับไม่เท่ากัน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

3.มาตราอันตรภาค (Interval scale) เป็นข้อมูลที่มีระดับการวัดที่มีคุณสมบัติสูงขึ้นจากมาตราเรียงอันดับ บอกรายละเอียดของคุณลักษณะที่สูงขึ้น บอกความแตกต่างเป็นค่าตัวเลขได้ และตัวเลขนั้นมีคุณสมบัติทางคณิตศาสตร์คือ บวก ลบ คูณ หาร ได้ เช่น อุณหภูมิร่างกาย คะแนนสอบ ตัวแปรที่มีระดับการวัดช่วงมาตรา สามารถวัดในระดับที่ต่ำกว่าได้ทั้งแบบที่ 1 และ 2 สามารถแสดงปริมาณความมากน้อยได้(magnitude) ความแตกต่างระหว่างแต่ละหน่วยมีค่าเท่ากัน(Equal interval) ไม่มีศูนย์แท้ ( non absolute zero) ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ตัวอย่าง ระดับการวัดตัวแปรแบบช่วงมาตรา ตัวอย่าง ระดับการวัดตัวแปรแบบช่วงมาตรา ตัวแปร คุณลักษณะที่แสดงความแตกต่าง Interval ลดระดับลงเป็น Ordinal Nominal อุณหภูมิร่างกาย - 10C 0C 37 C 100C ต่ำ ปกติ สูง ปกติ เป็นไข้ คะแนนสอบ 30 40 55 80 91 ปานกลาง ดี ดีมาก ผ่าน ไม่ผ่าน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา