วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
ลักษณะของครูที่ดี.
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
คำราชาศัพท์ จัดทำโดย นางสาวสมพร อ่อนละออ.
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ สร้างสรรค์งานสวย ด้วยเอกลักษณ์ไทย.
กิจกรรมวิชาการ และกิจกรรมเครือข่ายการ์ตูนไทย
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
ระบบสืบค้นหนังสือห้องสมุดคลังความรู้
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม
ข้อดี และประสบการณ์ที่ควร ปรับปรุงเพื่อนำไปใช้ให้เกิด ประโยชน์จากการเข้าร่วมอบรม ให้สัมฤทธิ์ผลและสามารถ นำไปประยุกต์ใช้ในการทำงาน.
การก่อตั้งประชาคมอาเซียน
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
เพลงกล่อมเด็กภาคใต้.
มาตรฐานวิชาชีพครู.
ความหมายของชุมชน (Community)
ความจำเป็นในการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
การจัดการศึกษาในชุมชน
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
ความเข้าใจมนุษย์ในสังคม
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
หลักการยอกยาการ์ตา คำปรารภ
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
การอ่านเชิงวิเคราะห์
การแข่งขันศิลปหัตถกรรม ครั้งที่ ๖๔ ปีการศึกษา ๒๕๕๗
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
การเขียน.
เกม 4 ตัวเลือก โดย นางสาวสาวิตรี ธรรมรัตน์ชัย
การเขียนรายงาน.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
บทที่๑ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ วัฒนธรรม. ๑ วัตุประสงค์การเรียนประจำบท บอกความหมายของวัฒนธรรมได้ บอกความสำคัญของของวัฒนธรรมได้ บอกองค์ประกอบของวัฒนธรรมได้
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
๑.นางสาววิมุตตรีศักดิ์สกุลไกร เลขที่ ๘ ๒.นางสาวกชรัตน์นันทเสน เลขที่ ๑๕ ๓.นางสาวสุวภัทรธูปหอม เลขที่ ๑๗ ๔.นางสาวชญานิศวิจารณ์ เลขที่ ๒๐ ๕.นายภูมิภัทรกลิ่นหอม.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
แผนการจัดการเรียนรู้
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
พ่อขุนรามคำแหง จัดทำโดย นาย เจษฎากร ลิมปนุสรณ์ นาย เชิงชาย ตะโฉ
ENL 3701 เนื้อหา ๑ ภาษาคืออะไร.
บทที่ 14 ลักษณะทางประชากรศาสตร์และชั้นทางสังคม
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน วัฒนธรรมกับภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน

Free template from www.brainybetty.com

“ภาษาของชนชาติจะสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมของชนชาตินั้น”

ความหมายและลักษณะของวัฒนธรรม วัฒนธรรม คือ สิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลง ปรับปรุงหรือผลิตขึ้น เพื่อความเจริญงอกงามในวิถีชีวิตมนุษย์เป็นสิ่งที่ปฏิบัติสืบต่อกันมารวมถึง ความคิดเห็น ความประพฤติ กิริยาอาการ ภาษาศิลปะ ความเชื่อ ประเพณี เป็นต้น

ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม อวัจนภาษา กิริยาท่าทาง การสัมผัส ลักษณะทางกายภาพ วัจนภาษา ใช้ภาษาหลากหลาย มีกำหนดคำลงท้าย ใช้คำคล้องจอง ใช้การเปรียบเทียบ

องค์ประกอบที่ทำให้ใช้ภาษาแตกต่างกัน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙.

องค์ประกอบที่ทำให้ใช้ภาษาแตกต่างกัน อายุ เพศ ประสบการณ์ ความใกล้ชิด โอกาส การอบรม/การศึกษา อาชีพ ตำแหน่ง/ฐานะ สภาพภูมิศาสตร์

สรุป ความสัมพันธ์ภาษากับวัฒนธรรม ๑) ภาษาเป็นเครื่องแสดงความเป็นชาติ และวัฒนธรรมของชาติ แสดงถึงความผูกพัน เป็นชนชาติเดียวกัน และมีประโยชน์ต่อนักภาษาศาสตร์ที่สามารถสืบค้นความเป็นมาของชนชาติตน ๒) ภาษาเป็นเครื่องแสดงปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ในฐานะของผู้ส่ง-ผู้รับภาษา และในฐานะความสัมพันธ์ฉันท์เครือญาติ ๓) ภาษาเป็นตัวแทนของพฤติกรรม และกิจกรรมที่ถ่ายทอดความเป็นสังคมของมนุษย์

สรุป ความสัมพันธ์ภาษากับวัฒนธรรม ๔) ภาษาเป็นเครื่องมือทางการเมือง แสดงความเชื่อทางการเมือง ความศรัทธาความจงรักภักดีต่อระบอบการปกครองและทางการเมือง ๕) ภาษาช่วยในการบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์จากอดีตถึงปัจจุบัน ๖) ภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างสรรค์สังคม

ความสัมพันธ์ของภาษาไทยกับวัฒนธรรม ๑. ภาษาไทยสะท้อนให้เห็นว่าวัฒนธรรมไทยเป็นวัฒนธรรมที่นิยมความประณีต ละเมียดละไม จากการใช้คำให้ตรงกับความหมายให้ถูกต้องและเหมาะสมตามฐานะของบุคคล เช่น การใช้คำราชาศัพท์ และระดับภาษา เป็นต้น ๒. ภาษาไทยสะท้อนให้เห็นว่าวัฒนธรรมไทยเป็นวัฒนธรรมประสมประสาน จากการที่ภาษาไทยได้ยืมคำจากภาษาอื่นๆมาใช้ ซึ่งเราสามารถใช้คำเหล่านี้ได้กลมกลืนกันและเหมาะสม

ความสัมพันธ์ของภาษาไทยกับวัฒนธรรม ๓. ภาษาไทยสะท้อนให้เห็นว่าวัฒนธรรมไทยเป็นวัฒนธรรม ที่เจริญด้านศิลปวัฒนธรรม จากการมีศัพท์เรียกต่างๆ ทั้งเครื่องดนตรี เช่น แตร ปี่ ซอ กลอง ศัพท์ที่เกี่ยวกับนาฏศิลป์ เช่น วง จีบ เป็นต้น ๔. ภาษาไทยสะท้อนให้เห็นว่าคนไทยเป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอน นิยมใช้คำคล้องจอง จากการตั้งชื่อต่างๆ เช่น ชื่อหนังสือ ถ้อยคำสำนวนต่างๆ คำประพันธ์ เป็นต้น

“หันเปิ้นมีบ่ดีใคร่ได้ หันเปิ้นขี้ไร้อย่าไปดูแคลน” คำคมวันละคำ “หันเปิ้นมีบ่ดีใคร่ได้ หันเปิ้นขี้ไร้อย่าไปดูแคลน”