โครงการ จัดทำระบบบริหารจัดการข้อมูลงานรังวัดเพื่อการชลประทานและแผนที่บัญชีรายชื่อเจ้าของที่ดิน (ร.ว. 43 ก.) เหตุผลความจำเป็น การก่อสร้างโครงการชลประทานมีการจ่ายเงินค่าชดเชย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
ประกาศราคาเบื้องต้นฯ และทำสัญญาเวนคืน
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน
แผนดำเนินงานโครงการวิจัย โครงการศูนย์วิจัยระบบการวางแผนจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อความมั่นคงระดับจังหวัด ระยะที่ 2 (ก.ค.54-ก.ย.54) โดย หน่วยวิจัยระบบปฏิบัติการวิจัยการจัดการแหล่งน้ำ.
โครงการ RID-CEO กลุ่มสชป กลุ่มทักษิณ.
การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
การประชุมผู้บริหารกรม
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
โครงการชลประทานหนองคาย
ส่วนสำรวจกันเขตและประสานงานรังวัด
โครงสร้างปัจจุบัน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
ส่วนมาตรฐาน/ส่วนวิชา การ/ส่วนวิศวกรรม
ผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น RID INNOVATION 2011
โครงสร้างเดิม.
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การศึกษาเปรียบเทียบระบบการแจ้งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาปี 2553 A Comparative.
บทที่19. การโอนบประมาณ.
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
กลุ่มที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดที่ดิน
สำนักจัดการปฏิรูปที่ดิน
นโยบายของท่านเลขาธิการ ส.ป.ก. ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน
ฝ่ายสำรวจทำแผนที่ทางพื้นดิน
ฝ่ายสำรวจทำแผนที่ทางพื้นดิน 1 ส่วนสำรวจทำแผนที่ภาคพื้นดิน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒ ๕ ๕ 7.
ฝ่ายประสานงานรังวัด งานรังวัดและออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง
ฝ่ายสำรวจทำแผนที่ทางพื้นดิน 8 ส่วนสำรวจทำแผนที่ภาคพื้นดิน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒ ๕ ๕ ๗.
ฝ่ายสำรวจทำแผนที่ทางพื้นดิน ๑๒ ส่วนสำรวจทำแผนที่ภาคพื้นดิน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี พ.ศ. ๒ ๕ ๕ 7.
ฝ่ายสำรวจทำแผนที่ทางพื้นดิน16 ส่วนสำรวจทำแผนที่ภาคพื้นดิน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒ ๕ ๕ 7.
ระบบบริหารจัดการเอกสารและข้อมูลแผนที่ด้วยระบบสารสนเทศ
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
ส่วนสำรวจกันเขตและประสานงานรังวัด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
การถ่ายโอนภารกิจด้านน้ำบาดาล ให้แก่ อปท.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการรังวัดได้อย่างง่ายๆ
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
หนังสือภายใน และ หนังสือภายนอก
โครงการพัฒนาลุ่มน้ำก่ำอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดราชบุรี
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
การจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินวิจัย
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เลขาธิการ ส.ป.ก. 1,995
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
กลุ่มที่ 4.

โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว ปี 2553
ผู้เข้าร่วมโครงการ Site Visit ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
กรณีตัวอย่างการจัดซื้อจัดจ้าง
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2560 งบประมาณ 600 ล้านบาท
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
Effective Filling System
Introduction & Objectives 1 Group Idea 2 Programming Design 3 Results and discussion 4 Future plans 5.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ จัดทำระบบบริหารจัดการข้อมูลงานรังวัดเพื่อการชลประทานและแผนที่บัญชีรายชื่อเจ้าของที่ดิน (ร.ว. 43 ก.) เหตุผลความจำเป็น การก่อสร้างโครงการชลประทานมีการจ่ายเงินค่าชดเชย หรือค่าทดแทนที่ดิน แผนที่ที่ใช้ประกอบการจ่ายเงินคือ แผนที่บัญชีรายชื่อเจ้าของที่ดิน (ร.ว. 43 ก.) การรังวัดที่ดินดำเนินการโดยช่างรังวัดกรมที่ดิน ภายใต้บันทึกข้อตกลงระหว่างกรมที่ดินและกรมชลประทาน ปี พ.ศ. 2542

เหตุผลความจำเป็น(ต่อ) กรมที่ดินจะสร้างแผนที่บัญชีรายชื่อเจ้าของที่ดิน (ร.ว. 43 ก.) เป็นกระดาษบาง โดยเก็บต้นฉบับไว้ และส่งคู่ฉบับให้กรมชลประทานเก็บไว้เป็นหลักฐาน จัดเก็บไว้ที่ฝ่ายประสานงานรังวัดที่ดิน ส่วนสำรวจกันเขตและประสานงานรังวัด สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา ปัจจุบันแผนที่ ร.ว. 43 ก. ของโครงการต่างๆทั่วประเทศมีประมาณ 250,000 แผ่น (ข้อมูลจากกรมที่ดิน) ตามบันทึกข้อตกลงต้องมีการถ่ายสำเนา(กระดาษ)ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 5 ชุด

เหตุผลความจำเป็น(ต่อ) การจัดเก็บกระดาษบาง (แผนที่ ร.ว. 43 ก.) พับใส่แฟ้ม และเก็บไว้ที่ชั้นจัดเก็บ

เหตุผลความจำเป็น(ต่อ) แผนที่เก่าและชำรุด มีรอยพับ และส่วนใหญ่จะชำรุดบริเวณรอยพับ การค้นหายุ่งยากและใช้เวลานาน

เหตุผลความจำเป็น(ต่อ) ปัจจุบันที่ดินมีราคาแพง เกิดการรุกล้ำเขตชลประทาน มีข้อพิพาทต่างๆมากขึ้น

เหตุผลความจำเป็น(ต่อ) แผนที่ ร.ว. 43 ก. เป็นหนึ่งในหลักฐานสำคัญในการพิสูจน์ข้อเท็จจริง สำนักสำรวจฯ มีระบบสืบค้นแผนที่สำรวจกันเขต และระบบสืบค้นแผนที่ภาคพื้นดินแล้ว ระบบเดิมไม่สามารถรองรับข้อมูลแผนที่จำนวนมากเพิ่มเติมได้ ระบบบริหารจัดการฯ เป็นการบูรณาการข้อมูลแผนที่ของสำนักสำรวจฯ

วัตถุประสงค์ เพื่อจัดเก็บแผนที่ ร.ว. 43 ก ซึ่งอยู่ในรูปแบบกระดาษเป็นดิจิตอลไฟล์ และนำมาสร้างระบบฐานข้อมูล(data base) เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการค้นหา และทำสำเนาแผนที่ รว.43 ก ให้แก่สำนัก กอง โครงการ เพื่อทำให้ผู้ใช้น้ำชลประทานและชุมชนใกล้เคียงมีความพึงพอใจ

ประโยชน์ที่ได้รับ เพิ่มประสิทธิภาพการด้านการค้นหา ทำสำเนา จัดเก็บแผนที่ รว. 43 ก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับสำเนาแผนที่ โดยสะดวก รวดเร็ว สามารถนำแผนที่ไปดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ   การเตรียมความพร้อมก่อนการก่อสร้างเป็นไปตามแผนงาน สนองตอบต่อยุทธศาสตร์การเพิ่มพื้นที่ชลประทาน   ผู้ใช้น้ำชลประทานและชุมชนใกล้เคียงมีความพึงพอใจ

สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียน กระบวนการประกาศทางน้ำและการอนุญาตใช้น้ำชลประทานมีประสิทธิภาพ มีอุปกรณ์เครื่องมือ ระบบฐานข้อมูลและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ผู้ใช้น้ำชลประทานและชุมชนใกล้เคียงมีความพึงพอใจ