การหาตัวหารร่วมมาก โดยใช้รูปแบบบัญญัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
Advertisements

เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
ตัวอย่าง Flowchart.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ผศ.ดร.เจษฎา ตัณฑนุช โทร
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โจทย์ Array 12 มี.ค จงเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลเข้าเป็นจำนวนเต็ม 10 จำนวน แล้วหาผลรวมของเลขเหล่านั้น.
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
(เฟส 1 ระยะทดลองใช้งาน อรม.อร.)
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
A.1 Real Numbers and Their Properties
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
Introduction to Digital System
MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ (Relations)
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การใช้คำสั่งเงื่อนไขใน exel
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ความสัมพันธ์ดีกรี n และการประยุกต์ใช้งาน
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
ค คณิตศาสตร์ สำหรับคอมพิวเตอร์ 1 ผลคูณคาร์ทีเชียน.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
วิชา คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ เรื่อง เซต
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
เรื่อง เลขยกกำลัง อัตรส่วนและร้อยละ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ขั้นตอนวิธีของยุคลิด
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ระบบเลขฐาน.
ระบบเลขฐาน V.2 ม.6.
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
บทที่ 10 และการเขียน Abstract และการเขียนบทที่ 5.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การหาตัวหารร่วมมาก โดยใช้รูปแบบบัญญัติ ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5

การหา ห.ร.ม. เลขจำนวนมาก การหา ห.ร.ม. ของเลขจำนวนมากสามารถ นำรูปแบบบัญญัติมาช่วยในการหาได้ โดยจะต้องเขียนในรูปแบบบัญญัติที่ใช้ จำนวนเฉพาะทั้งหมดตั้งแต่ 2,3,5,7,11,13,17,19,23,… ไปจนเท่ากันทั้งสองฝั่ง

ทบทวนรูปแบบบัญญัติ การนำรูปแบบบัญญัติมาใช้หา ห.ร.ม. จะต้องเขียนให้อยู่ในรูปของจำนวนเฉพาะทุก จำนวนไม่ว่าจะหารจำนวนนั้นลงตัวหรือไม่ และต้องมีจำนวนเท่ากันทั้ง 2 จำนวน เช่น 15 = 20 × 31 × 51 × 70 84 = 22 × 31 × 50 × 71

วิธีการหา ห.ร.ม. โดยใช้รูปแบบบัญญัติ ให้ a และ b เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นศูนย์และเขียนอยู่ในรูป a = p1a1p2a2…pnan และ b = p1b1p2b2…pnbn โดยที่ p1,p2,p3 เป็นจำนวนเฉพาะที่ p1<p2<…<pn และ a1,b1 เป็นจำนวนเต็มที่ไม่ เป็นลบทุกค่า i = 1,2,…,n จะได้ (a,b) = p1min(a1,b1)×p2min(a1,b1)×…pnmin(an,bn)

ตัวอย่าง จงหา (600,2420) วิธีทำ เนื่องจาก 600 = 23 × 31 × 52 × 110 และ 2420 = 22 × 30 × 51 × 112 ดังนั้น (600,2420) = 2min(3,2) ×3min(1,0) × 5min(2,1) ×11min(0,2) = 22 × 30 × 51 × 110 = 4 × 5 = 20