อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Arrays.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระวิชา คณิตศาสตร์ วันและสัปดาห์
Data Type part.II.
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
Array.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ฟังก์ชันตรวจสอบเงื่อนไข
PHP LANGUAGE.
อาเรย์ (Array).
Arrays.
ตัวแปรแบบโครงสร้าง.
Selected Topics in IT (Java)
– Web Programming and Web Database
บทที่ 7 การกำหนดชนิดข้อมูลใหม่
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
ตัวแปรในภาษา JavaScript
การรับและแสดง ข้อมูล ง การเขียนไดนามิกเว็บ เพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
Cascading Style Sheet ง การเขียนเว็บไซต์ สไตล์ ป. พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยา คม.
คำสั่งเงื่อนไข ง การเขียนไดนามิก เว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การทำซ้ำด้วยคำสั่ง while
คำสั่ง while และ do…while
การทำงานกับ เลขจำนวน ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การแสดงคำสั่ง HTML และตัวแปร ง ไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การใช้คำสั่ง เงื่อนไข การเขียนเว็บเพจโดยใช้ ภาษาสคริปต์ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การเขียน JavaScript ในเว็บเพจ ง การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
นิพจน์และตัวดำเนินการ
การทำซ้ำด้วย คำสั่ง for ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การจัดการแท็ก โดยใช้ Document Object Model : DOM ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
การสร้างตาราง ง40205 การเขียนเว็บไซต์สไตล์ ป.พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
การรับข้อมูลในภาษา php
เก็บข้อมูลเป็นกลุ่มด้วยอาร์เรย์
กิจกรรมที่ 7 การวางแผนการแก้ปัญหา (1)
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Lecture 4 เรคอร์ด.
Week 12 Engineering Problem 2
เสรี ชิโนดม Array in PHP เสรี ชิโนดม
การทำงานกับวัน/เวลา ในภาษา php
การใช้งาน ฐานข้อมูล การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การใช้คำสั่งเงื่อนไข
อาร์เรย์ (Arrays).
วิธีการเขียนโปรแกรมเพื่อทำงานกับข้อมูล โดยที่ ข้อมูลนั้นจะต้อง 1. เป็นประเภทเดียวกัน | ตัวเลข, ตัวอักษร 2. มีขนาดเท่ากัน ? ARRAY คืออะไร.
PHP: [7] ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับ วัน/เวลา
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
เตรียมเงิน/หุ้นให้เพียงพอสำหรับการ Settlement แบบ 2 วันรวมกัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม

อะเรย์ อะเรย์ (Array) คือ กลุ่มของค่า หรือข้อมูลที่เป็นชนิดเดียวกันซึ่ง ถูกจัดเก็บไว้ภายใต้ชื่อชื่อเดียว อะเรย์ ประกอบด้วย 2 สิ่งที่สำคัญ คือ สมาชิก (element) หมายถึง ข้อมูลแต่ละค่า อินเด็กซ์ (index) หมายถึง ค่าที่ ใช้ระบุตำแหน่ง

อะเรย์ อาทิ ตย์ จันท ร์ อังค าร พุธ พฤหั ส ศุกร์เสาร์ ข้อมู ล อิน เด็กซ์

การสร้างอะเรย์ การสร้าง numeric array มีอยู่ 2 วิธี วิธีแรกคือการใช้คำสั่ง array ดังตัวอย่าง <?php $weekdays = array(“ อาทิตย์ ”,“ จันทร์ ”, “ อังคาร ”, “ พุธ ”, “ พฤหัส ”, “ ศุกร์ ”, “ เสาร์ ”) ; ?>

การสร้างอะเรย์ การสร้าง numeric array วิธีที่สอง โดย ใช้วิธีทยอยกำหนดค่าให้แก่ตัวแปรอะเรย์ ดังตัวอย่าง <?php $weekdays[0] = “ อาทิตย์ ”; $weekdays[1] = “ จันทร์ ”; $weekdays[2] = “ อังคาร ”; ?>

การสร้างอะเรย์ บางครั้งเราไม่จำเป็นต้องระบุตัวเลขก็ได้ โดย PHP จะกำหนดสมาชิกตัวแรกเป็น 0 และเพิ่มค่าคีย์ทีละ 1 สำหรับสมาชิก ตัวถัดๆไปโดยอัตโนมัติ <?php $weekdays[] = “ อาทิตย์ ”; $weekdays[] = “ จันทร์ ”; $weekdays[] = “ อังคาร ”; ?>

การสร้างอะเรย์ การสร้างอะเรย์โดยใช้ index ที่ไม่เป็น ตัวเลข (associative array) <?php $weekdays[‘sun’] = “ อาทิตย์ ”; $weekdays[‘mon’] = “ จันทร์ ”; $weekdays[‘tue’] = “ อังคาร ”; ?>

อะเรย์ อาทิ ตย์ จันท ร์ อังค าร พุธ พฤหั ส ศุกร์เสาร์ ข้อมู ล sun mon tue wed thu fri sat อิน เด็กซ์

การเข้าถึงสมาชิก ของอะเรย์ เมื่อต้องการเข้าถึงสมาชิกของอะเรย์ ให้ พิมพ์ชื่อตัวแปร อะเรย์ ตามด้วยวงเล็บ ก้ามปู โดยระบุอินเด็กซ์ไว้ในวงเว็บ <?php printf(“$weekdays[0]”); ?> ผลที่ได้คือ อาทิตย์

การเข้าถึงสมาชิก ของอะเรย์ เมื่อต้องการเข้าถึงสมาชิกของอะเรย์ ให้ พิมพ์ชื่อตัวแปร อะเรย์ ตามด้วยวงเล็บ ก้ามปู โดยระบุอินเด็กซ์ไว้ในวงเว็บ <?php printf(“$weekdays[‘mon’]”); ?> ผลที่ได้คือ จันทร์

การวนลูปแสดง สมาชิก <?php $student[0] = ‘ ชานนท์ ’; $student[1] = ‘ เทวา ’; $student[2] = ‘ วสุพล ’; // ใช้ฟังก์ชัน count นับจำนวนสมาชิก $n = count($student); for ($i=0;$i<n;$i++) { printf(“$student[$i] ”); } ?>