แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
Advertisements

Arrays.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter Introduction to Programming
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลชนิดพอยท์เตอร์
Principles of Programming
Principles of Programming
Data Type part.III.
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
Array.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Structure.
ARRAY.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
โจทย์ Array 12 มี.ค จงเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลเข้าเป็นจำนวนเต็ม 10 จำนวน แล้วหาผลรวมของเลขเหล่านั้น.
อาเรย์ (Array).
ตัวแปรชุด.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Arrays.
ตัวแปรแบบโครงสร้าง.
Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
อาร์เรย์และข้อความสตริง
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ตัวแปรในภาษา JavaScript
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
คำสั่ง while และ do…while
การทำงานกับ เลขจำนวน ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การแสดงคำสั่ง HTML และตัวแปร ง ไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การทำซ้ำด้วย คำสั่ง for ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
การจัดการแท็ก โดยใช้ Document Object Model : DOM ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวดำเนินการในภาษาซี
ปฏิบัติการครั้งที่ 10 pointer. หน่วยความจำ หน่วยความจำนั้นเสมือนเป็นช่องว่างไว้เก็บ ของที่มีหมายเลขประจำติดไว้ที่แต่ละช่อง เพื่อใช้ในการระบุตำแหน่งของช่องได้
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
การประมวลผลสายอักขระ
Week 12 Engineering Problem 2
Computer Programming for Engineers
ตัวแปรชุด Arrays.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม

แถวลำดับ (array) คือเนื้อที่ในหน่วยความจำที่เรียงต่อกัน ใช้ในการเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันหลายจำนวน การประกาศตัวแปรเป็นแถวลำดับจะทำให้ตัวแปรนั้นสามารถเก็บข้อมูลได้หลายจำนวนและสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยใช้ตัวแปรชื่อเดียวกัน แต่ต้องมีตัวทีทำหน้าที่ชี้ลำดับข้อมูล

การประกาศตัวแปรแถวลำดับ การประกาศตัวแปรแถวลำดับมีรูปแบบดังนี้ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปรแถวลำดับ[n]; โดยที่ ชนิดของข้อมูล คือ ชนิดของข้อมูลที่เก็บในตัวแปรแถวลำดับ n คือ จำนวนสมาชิกของตัวแปรแถวลำดับ

ตัวอย่างการประกาศตัวแปรแถวลำดับ int n[10]; ประกาศตัวแปรแถวลำดับชื่อ n ประกอบด้วยสมาชิก 10 หน่วยและแต่ละหน่วยใช้เก็บข้อมูลจำนวนเต็ม char a[20]; ประกาศตัวแปรแถวลำดับชื่อ a ประกอบด้วยสมาชิก 20 หน่วยและแต่ละหน่วยใช้เก็บข้อมูลชนิดอักขระ float g[5]; ประกาศตัวแปรแถวลำดับชื่อ g ประกอบด้วยสมาชิก 5 หน่วยและแต่ละหน่วยใช้เก็บข้อมูลจำนวนจริง

ลักษณะการเก็บข้อมูลของตัวแปรแถวลำดับ int n[10]; การอ้างอิง num[0]num[1]num[2]num[3]num[4]num[5]num[6]num[7]num[8]num[9] หน่วยความจำ

การอ้างอิงข้อมูลในตัวแปรแถวลำดับ การอ้างอิงข้อมูลในแถวลำดับทำได้โดยระบุตำแหน่งในวงเล็บปีกแข็งหลังตัวแปร โดยที่ 0 หมายถึงข้อมูลตำแหน่งแรก วิธีการใช้ตัวแปรก็ทำเหมือนปกติแต่ต้องระบุตำแหน่งของข้อมูลด้วยเช่น num[7] = 5; หมายถึงการกำหนดค่าให้ตัวแปร num ตัวชี้ที่ 5 (ซึ่งความจริงเป็นตำแหน่งที่ 6) scanf(“%d”,&num[3]); หมายถึง การรับข้อมูลไปเก็บไว้ในตัวแปร num ตัวชี้ที่ 3 (ตำแหน่งที่ 4) สมมติว่าผู้ใช้ป้อน 9 เข้ามาในหน่วยความจำจะเป็นดังนี้

ลักษณะการเก็บข้อมูลของตัวแปรแถวลำดับ การอ้างอิง num[0]num[1]num[2]num[3]num[4]num[5]num[6]num[7]num[8]num[9] 9 5 หน่วยความจำ

ตัวอย่างที่ 11.1 โปรแกรมรับจำนวนเต็ม 10 จำนวนแล้วหาผลรวม #include <stdio.h> //1 main() //3 { //4 int num[10], sum, i; //6 for (i=10; i<10; i++) //7 scanf(“%d”,&num[i]); //8 sum = 0; //9 for (i=10; i<10; i++) //10 sum = sum + num[i]; //11 printf(“Sum is %d\n”,sum); //12 } //13