ตัวแปรในภาษา JavaScript

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
Advertisements

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
Principles of Programming
Principles of Programming
Data Type part.II.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
SCC : Suthida Chaichomchuen
ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
อาร์เรย์และข้อความสตริง
Javascripts.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 8 อาร์เรย์.
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ครูรัตติยา บุญเกิด.
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การแปลงชนิดข้อมูลของตัวแปร
การรับและแสดง ข้อมูล ง การเขียนไดนามิกเว็บ เพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
คำสั่งเงื่อนไข ง การเขียนไดนามิก เว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การทำซ้ำด้วยคำสั่ง while
การแสดงคำสั่ง HTML และตัวแปร ง ไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การเขียน JavaScript ในเว็บเพจ ง การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
นิพจน์และตัวดำเนินการ
การทำซ้ำด้วย คำสั่ง for ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
ตัวดำเนินการในภาษาซี
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Computer Programming for Engineers
CHAPTER 3 System Variables and Array
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวแปรในภาษา JavaScript ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม

ตัวแปร (variable) หมายถึง ชื่อหรือสัญลักษณ์ที่ตั้งขึ้นเอเก็บค่าใดๆ โดยการจองเนื้อที่ในหน่วยความจำของระบบมีขนาดตามชนิดและค่าของข้อมูล สำหรับค่าในตัวแปรสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามคำสั่งในการประมวลผล

การตั้งชื่อตัวแปร ต้องใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ และต้องขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่หรือพิมพ์เล็ก เครื่องหมาย underscore (_) หรือเครื่องหมาย dollar sign ($) เท่านั้น ในชื่อของตัวแปรต้องไม่มีเว้นวรรค ตัวอักขระตำแหน่งอื่นๆ ของตัวแปร สามารถใช้ตัวพิมพ์เล็กหรือตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวเลข (0-9) เครื่องหมาย underscore (_) และเครื่องหมาย dollar sign ($) เท่านั้นห้ามใช้เครื่องหมายอื่น

คำสงวนในภาษา JavaScript abstract boolean break byte case catch char class const continue default delete debugger do double else enum export extends false final finally float for function goto if implements import in instanceof int interface long native new null package private protected public return short static super switch synchronized this throws transient true try var void volatile while with

การประกาศตัวแปร เป็นการกำนดชื่อและชนิดของข้อมูลให้กับตัวแปรเพื่อนำไปใช้ในโปรแกรม ต้องคำนึงถึงค่าของข้อมูลและชนิดของข้อมูลที่อ้างอิง สิ่งที่ควรคำนึงถึงคือการประกาศตัวแปรให้เหมาะกับการใช้งาน

รูปแบบการประกาศตัวแปร รูปแบบที่ 1 var ชื่อตัวแปร; // เป็นการตัวแปรปกติ รูปแบบที่ 2 var ชื่อตัวแปร = ค่าเริ่มต้น; //เป็นการประกาศตัวแปรพร้อมกำหนดค่าเริ่มต้น ในกรณีที่ต้องการประกาศค่าตัวแปรหลายๆตัวในบรรทัดเดียวกันให้ใช้เครื่องหมายคอมม่า (,) คั่นระหว่างตัวแปร เช่น var a,b;

การกำหนดค่าให้กับตัวแปร การกำหนดค่าให้กับตัวแปรจะใช้เครื่องหมาย = มีรูปแบบดังนี้ ชื่อตัวแปร = ค่า; ตัวอย่างเช่น a = 5; โดยที่ค่าของข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถกำนดตัวเลขได้โดยตรง เช่น number =24; ข้อมูลทางตรรกะ ได้แก่ค่าจริง (true) หรือ เท็จ (false) เช่น visible = false; ข้อมูลสตริง ได้แก่ข้อความต้องอยู่ในเครื่องหมายคำพูด (“…”) เช่น school = “ปลวกแดง”

การประกาศตัวแปรแบบปกติ ตัวอย่างเช่น var student_name; var student_code; หรือสามารถเขียนตัวแปรหลายตัวในบรรทัดเดียวกันได้ดังนี้ var student_name, student_code;

การประกาศตัวแปรแบบกำหนดค่าเริ่มต้น ตัวอย่างเช่น var student_name = “รักเรียน”; var student_code = 1234;

การกำหนดค่าโดยไม่ประกาศตัวแปร ตัวอย่างเช่น student_name = “รักเรียน”; student_code = 1234;

การหาชนิดของข้อมูล บางครั้งถ้าเราต้องการทราบชนิดของข้อมูลเราสามารถใช้คำสั่ง typeof หาชนิดของข้อมูลได้ โดยมีรูปแบบการใช้คือ typeof ชื่อตัวแปร; ตัวอย่างเช่น typeof student_name; ผลที่ได้คือ string

ตัวแปร array เป็นตัวแปรที่เก็บข้อมูลชนิดเดียวกันได้หลายๆตัว JavaScript จะสามารถกำหนดขนาดของอาร์เรย์ในหน่วยความจำโดยอัตโนมัติ สามารถเพิ่มจำนวนสมาชิกได้แต่ลดจำนวนลงไม่ได้ มีข้อควรระวังคือ ยิ่งกำหนดขนาดของอาร์เรย์ขนาดใหญ่มากก็ยิ่งเปลืองเนื้อที่ในหน่วยความจำมากขึ้น การประมวลผลก็ยิ่งช้าลงไปด้วย

การสร้างตัวแปรอาร์เรย์ ก่อนที่จะสร้างตัวแปรอาร์เรย์ จะต้องประกาศตัวแปรอาร์เรย์ในโปรแกรมก่อน เพื่อให้โปรแกรมรู้จักชื่อของตัวแปรอาร์เรย์พร้อมทั้งกำหนดขนาดของพื้นที่ในหน่วยความจำ โดยมีรูปแบบดังนี้ ชื่อตัวแปร = new array(จำนวนสมาชิก); โดยจำนวนสมาชิกคือ จำนวนสมาชิกที่ต้องการจะเก็บ หรือขนาดของอาร์เรย์ ตัวอย่างเช่น student = new array(10); หมายถึงการการประกาศให้ตัวแปร student เป็นตัวแปรแบบอาร์เรย์โดยมีจำนวนสมาชิก 10 ตัว

การกำหนดค่าให้กับตัวแปรอาร์เรย์ มีรูปแบบดังนี้ ชื่อตัวแปร [index] = ค่าของข้อมูล; โดย index คือลำดับของสมาชิกในอาร์เรย์ โดยเริ่มตั้งแต่ลำดับที่ 0,1,2, เป็นต้นไป ตัวอย่างเช่น student[7] = “ขยัน”; หมายถึงการกำหนดให้สมาชิกลำดับที่ 7 มีค่าเป็น “ขยัน”;