- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ชื่อตัวชี้วัดสถานะ จังหวัด……………………………………. ยาเสพติด 1. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ต้องหาคดียาเสพติดข้อหาสำคัญถูกดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรม 2. ร้อยละของสถานศึกษาในพื้นที่ได้รับการส่งเสริมกิจกรรมป้องกัน แก้ไขและเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดเทียบกับ ค่าเป้าหมาย 3. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของจังหวัด ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) 4. อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) การจำนำข้าว 5. ปริมาณข้าวที่รับจำนำ (อยู่ระหว่างการจัดทำรายละเอียด) 6. การจัดการข้อร้องเรียน (อยู่ระหว่างการจัดทำรายละเอียด) ผลสัมฤทธิ์การพัฒนา 7. ร้อยละของการจับกุมผู้กระทำผิดในคดีแต่ละกลุ่มที่เกิดขึ้น (อยู่ระหว่างการจัดทำรายละเอียด) 8. ร้อยละของจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางบก 9. ดัชนีด้านการจัดการแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คุณภาพน้ำ 9.1 ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ (DO) 9.2 ค่าความสกปรกในรูปของสารอินทรีย์ (BOD) คุณภาพอากาศ 9.3 จำนวนวันที่ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กเฉลี่ยรายวันอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานในรอบปีงบประมาณ การจัดการขยะมูลฝอย 9.4 ปริมาณขยะมูลฝอยที่สามารถนำไปกำจัดได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ 9.5 ปริมาณขยะมูลฝอยที่สามารถนำกลับมารีไซเคิลได้ 10. ร้อยละของจำนวนครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ลดลง 2
1. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ต้องหาคดียาเสพติดข้อหาสำคัญ ถูกดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรม ชื่อตัวชี้วัด : รอบการรายงาน : รายเดือน รายไตรมาสราย 6 เดือน ผู้รับผิดชอบ : โทร: หน่วยงานรับผิดชอบ : ผลการดำเนินงาน : เป้าหมาย : Baseline ย้อนหลัง 3 ปี การ ดำเนิน งาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. แผน ผล สถานะ พิจารณาจากจำนวนผู้ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดที่ถูกดำเนินการตามกระบวน การยุติธรรมในคดียาเสพติด ในฐานความผิด ผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย ครอบครองเพื่อจำหน่าย ถูกดำเนินการตามกฎหมายเพิ่มขึ้นในปีงบประมาณ พ.ศ เปรียบเทียบกับปริมาณที่จับกุมได้ในปีงบประมาณ พ.ศ คำอธิบาย : รายปี 3
ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 Baseline ย้อนหลัง 3 ปี การ ดำเนิน งาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. แผน ผล สถานะ คำอธิบาย : รอบการรายงาน : รายเดือน รายไตรมาสราย 6 เดือน ผู้รับผิดชอบ : โทร: หน่วยงานรับผิดชอบ : ผลการดำเนินงาน : เป้าหมาย : รายปี 2. ร้อยละของสถานศึกษาในพื้นที่ได้รับการส่งเสริมกิจกรรมป้องกัน แก้ไข และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดเทียบกับค่าเป้าหมาย พิจารณาจากสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดโดยเป็นสถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ (สพฐ./ สช./สอศ./กศน./สกอ.) กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และกระทรวง วัฒนธรรม ได้แก่ โรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนขยายโอกาส (ป.1 – ม.3) โรงเรียนมัธยมศึกษา และโรงเรียนอาชีวศึกษา โดยไม่นับรวมสถานศึกษาที่มีสถานะดังต่อไปนี้ โรงเรียนพระปริยัติธรรม โรงเรียนศึกษาพิเศษ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ และ กศน.ได้รับการส่งเสริมการจัดกิจกรรมป้องกัน แก้ไขและเฝ้าระวังยาเสพติดในสถานศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การสนับสนุนวิทยากร งบประมาณ บุคลากร ฯลฯ จากหน่วยงานในพื้นที่ ได้แก่ ศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดจังหวัด (ศพส.จ.) ศูนย์ปฏิบัติการเอาชนะยาเสพติดอำเภอ (ศพส.อ.) สาธารณสุขจังหวัด สถานีตำรวจ ฯลฯ เทียบกับ สถานศึกษาเป้าหมายกำหนดโดยสำนักงาน ป.ป.ส. ตามยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะ ยาเสพติด ปีงบประมาณ พ.ศ เป็นสถานศึกษาทุกแห่ง ทุกสังกัดในจังหวัด โดยศูนย์ อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดจังหวัด (ศพส.จ.) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในจังหวัด สามารถดูข้อมูลรายชื่อ สถานศึกษาเป้าหมายได้จากระบบรายงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา (ระบบ NISPA) ของสำนักงาน ป.ป.ส. ที่ 4
3. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดของจังหวัด ชื่อตัวชี้วัด : รอบการรายงาน : รายเดือนรายไตรมาสราย 6 เดือน ผู้รับผิดชอบ : โทร: หน่วยงานรับผิดชอบ : ผลการดำเนินงาน : (ความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดเท่ากับปีที่ผ่านมา) เป้าหมาย : Baseline ย้อนหลัง 3 ปี การ ดำเนิน งาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. แผน ผล สถานะ พิจารณาจากคะแนนผลการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการ ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ เปรียบเทียบกับคะแนนผลการสำรวจความพึงพอใจของ ประชาชนฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ โดยใช้แนวทางตามที่จังหวัดได้ ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ คำอธิบาย : รายปี 5
4. อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) ชื่อตัวชี้วัด : รอบการรายงาน : รายเดือนรายไตรมาสราย 6 เดือน ผู้รับผิดชอบ : โทร: หน่วยงานรับผิดชอบ : ผลการดำเนินงาน : (อัตราการเติบโตของประมาณการผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด ปี 2555 เท่ากับมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ปี 2554) เป้าหมาย : Baseline ย้อนหลัง 3 ปี การ ดำเนิน งาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. แผน ผล สถานะ พิจารณาจากอัตราการเติบโตของประมาณการผลิตภัณฑ์มวลรวมของ จังหวัด ปี 2555 เทียบกับมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ปี 2554 คำอธิบาย : รายปี 6
5. ปริมาณข้าวที่รับจำนำ ชื่อตัวชี้วัด : รอบการรายงาน : ผู้รับผิดชอบ : โทร: หน่วยงานรับผิดชอบ : ผลการดำเนินงาน : (ปริมาณข้าวที่มาจำนำเริ่มนับจากปีที่ผ่านมา) เป้าหมาย : Baseline ย้อนหลัง 3 ปี การ ดำเนิน งาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. แผน ผล สถานะ คำอธิบาย : รายเดือนรายไตรมาสราย 6 เดือนรายปี 7 (อยู่ระหว่างการจัดทำรายละเอียด โดยสำนักงาน ก.พ.ร. จะแจ้งให้ทราบต่อไป)
6. การจัดการข้อร้องเรียน ชื่อตัวชี้วัด : Baseline ย้อนหลัง 3 ปี การ ดำเนิน งาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. แผน ผล สถานะ คำอธิบาย : รอบการรายงาน : ผู้รับผิดชอบ : โทร: หน่วยงานรับผิดชอบ : ผลการดำเนินงาน : เป้าหมาย : รายเดือนรายไตรมาสราย 6 เดือนรายปี 8 (อยู่ระหว่างการจัดทำรายละเอียด โดยสำนักงาน ก.พ.ร. จะแจ้งให้ทราบต่อไป)
7. ร้อยละของการจับกุมผู้กระทำผิดในคดีแต่ละกลุ่มที่เกิดขึ้น ชื่อตัวชี้วัด : Baseline ย้อนหลัง 3 ปี การ ดำเนิน งาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. แผน ผล สถานะ คำอธิบาย : รอบการรายงาน : ผู้รับผิดชอบ : โทร: หน่วยงานรับผิดชอบ : ผลการดำเนินงาน : เป้าหมาย : รายเดือนรายไตรมาสราย 6 เดือนรายปี 9 (อยู่ระหว่างการจัดทำรายละเอียด โดยสำนักงาน ก.พ.ร. จะแจ้งให้ทราบต่อไป)
8. ร้อยละของจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางบก ชื่อตัวชี้วัด : รอบการรายงาน : ผู้รับผิดชอบ : โทร: หน่วยงานรับผิดชอบ : ผลการดำเนินงาน : ร้อยละ 3 เป้าหมาย : Baseline ย้อนหลัง 3 ปี การ ดำเนิน งาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. แผน ผล สถานะ วัดผลร้อยละการเปลี่ยนแปลงของจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจร ทางบกในปีงบประมาณ พ.ศ เทียบกับค่าเฉลี่ยของจำนวนผู้เสียชีวิต จากอุบัติเหตุจราจรทางบกย้อนหลัง 3 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ ) คำอธิบาย : รายเดือนรายไตรมาสราย 6 เดือนรายปี 10
9.1 ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ (DO) ชื่อตัวชี้วัด : รอบการรายงาน : ผู้รับผิดชอบ : โทร: หน่วยงานรับผิดชอบ : ผลการดำเนินงาน : จำนวนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ50 เป้าหมาย : Baseline ย้อนหลัง 3 ปี การ ดำเนิน งาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. แผน ผล สถานะ พิจารณาจากผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำของแหล่งน้ำผิวดินของกรมควบคุม มลพิษ จากจุดเก็บตัวอย่างน้ำในกลุ่มจังหวัดลุ่มน้ำ คือมีปริมาณออกซิเจน ละลายน้ำ (DO) เท่ากับหรือมากกว่าค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 20 ของปริมาณ DO ย้อนหลัง 3 ปี จำนวนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 50 ของจำนวนจุดเก็บ ตัวอย่างน้ำทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดลุ่มน้ำ คำอธิบาย : รายเดือนรายไตรมาสราย 6 เดือนรายปี 11
9.2 ค่าความสกปรกในรูปของสารอินทรีย์ (BOD) ชื่อตัวชี้วัด : รอบการรายงาน : ผู้รับผิดชอบ : โทร: หน่วยงานรับผิดชอบ : ผลการดำเนินงาน : จำนวนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 30 เป้าหมาย : Baseline ย้อนหลัง 3 ปี การ ดำเนิน งาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. แผน ผล สถานะ พิจารณาจากผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำของแหล่งน้ำผิวดินของกรมควบคุม มลพิษ จากจุดเก็บตัวอย่างน้ำในกลุ่มจังหวัดลุ่มน้ำ คือมีค่าความสกปรกในรูป ของสารอินทรีย์ (BOD) เท่ากับหรือน้อยกว่าค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 80 ของ ปริมาณ BOD ย้อนหลัง 3 ปี จำนวนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 30 ของ จำนวนจุดเก็บตัวอย่างน้ำทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดลุ่มน้ำ คำอธิบาย : รายเดือนรายไตรมาสราย 6 เดือนรายปี 12
9.3 จำนวนวันที่ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กเฉลี่ยรายวันอยู่ในเกณฑ์ มาตรฐานในรอบปีงบประมาณ ชื่อตัวชี้วัด : รอบการรายงาน : ผู้รับผิดชอบ : โทร: หน่วยงานรับผิดชอบ : ผลการดำเนินงาน : ลดลงไม่เกินร้อยละ 0.50 เป้าหมาย : Baseline ย้อนหลัง 3 ปี การ ดำเนิน งาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. แผน ผล สถานะ พิจารณาจากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ (เฉพาะปริมาณฝุ่นละอองขนาด เล็กกว่า 10 ไมครอน) เฉลี่ยรายวัน จากสถานีตรวจวัดอากาศของกรมควบคุม มลพิษ โดยร้อยละของจำนวนวันที่ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กเฉลี่ยรายวันอยู่ ในเกณฑ์มาตรฐานในรอบปีงบประมาณ ลดลงเมื่อเทียบกับร้อยละของจำนวน วันที่ปริมาณฝุ่นละอองเฉลี่ยรายวันอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ย้อนหลัง 3 ปี คำอธิบาย : รายเดือนรายไตรมาสราย 6 เดือนรายปี 13
9.4 ปริมาณขยะมูลฝอยที่สามารถนำไปกำจัดได้อย่างถูกต้องตามหลัก วิชาการ ชื่อตัวชี้วัด : รอบการรายงาน : ผู้รับผิดชอบ : โทร: หน่วยงานรับผิดชอบ : ผลการดำเนินงาน : ร้อยละ 60 เป้าหมาย : Baseline ย้อนหลัง 3 ปี การ ดำเนิน งาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. แผน ผล สถานะ ปริมาณขยะมูลฝอยที่สามารถนำไปกำจัดได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อเทียบกับปริมาณที่เกิดขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การปกครองส่วน ท้องถิ่นเป้าหมาย คำอธิบาย : รายเดือนรายไตรมาสราย 6 เดือนรายปี 14
9.5 ปริมาณขยะมูลฝอยที่สามารถนำกลับมารีไซเคิลได้ ชื่อตัวชี้วัด : รอบการรายงาน : ผู้รับผิดชอบ : โทร: หน่วยงานรับผิดชอบ : ผลการดำเนินงาน : ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 เป้าหมาย : Baseline ย้อนหลัง 3 ปี การ ดำเนิน งาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. แผน ผล สถานะ ปริมาณขยะมูลฝอยที่สามาถนำกลับมารีไซเคิลได้ ไม่น้อยกว่าค่าเป้าหมาย เมื่อเทียบกับปริมาณที่เกิดขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การปกครองส่วน ท้องถิ่นเป้าหมาย คำอธิบาย : รายเดือนรายไตรมาสราย 6 เดือนรายปี 15
10. ร้อยละของจำนวนครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ลดลง ชื่อตัวชี้วัด : รอบการรายงาน : ผู้รับผิดชอบ : โทร: หน่วยงานรับผิดชอบ : ผลการดำเนินงาน : ร้อยละของจำนวนครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ลดลงร้อยละ 30 เป้าหมาย : Baseline ย้อนหลัง 3 ปี การ ดำเนิน งาน ปีงบประมาณ พ.ศ ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. แผน ผล สถานะ ผลสำเร็จของการดำเนินการ พิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงของจำนวน ครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 30,000 บาทต่อคนต่อปี ในปีงบประมาณ พ.ศ เปรียบเทียบกับจำนวนครัวเรือนยากจนเป้าหมาย ที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 30,000 บาทต่อคนต่อปี ในปีงบประมาณ พ.ศ จำนวนครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. หมายถึง ครัวเรือนยากจนเป้าหมายปีงบประมาณ พ.ศ ที่เหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 รวมกับครัวเรือนยากจนที่เกิดขึ้นใหม่จากการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ปีงบประมาณ พ.ศ คำอธิบาย : รายเดือนรายไตรมาสราย 6 เดือนรายปี 16