ด. ญ. พัชชา กาญจนสำราญวงศ์ ชั้น ม. 2/3 เลขที่ 5 อ. ภานุมาศ ชาติทองแดง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เซลล์และเวิร์กชีตและการจัดการกับเวิร์กชีต
Advertisements

ระบบเพิ่มแก้ไขข้อมูล หน่วยเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.
การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
บทที่ 3 การออกแบบระบบเนวิเกชัน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
โจทย์ คณะมนุษยศาสตร์ ต้องการซื้อวัสดุสำนักงาน จำนวน 3 รายการ ประกอบด้วย 1. ตู้เก็บเอกสาร 10 ตู้ ตู้ละ 2730 บาท 2. ตู้เหล็ก 2 บาน 10 ตู้ ตู้ละ.
สื่อการเรียนรู้ โดย นางสุมิตรา ดีมี
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
BC320 Introduction to Computer Programming
การประยุกต์ใช้โปรแกรม MS-Excel
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
โดย ศศิธร อารยะพูนพงศ์ สำนักคอมพิวเตอร์
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
MS Excel Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรยชีต (Speadsheet) หรือโปรแกรมตาราง งาน ซึ่งจะเก็บข้อมูลต่าง ๆ ลงบน แผ่นตารางงาน คล้ายกับการเขียน ข้อมูลลงไปในสมุดที่มีการตีช่องตาราง.
Microsoft Excel 2007.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต รหัสวิชา
เรื่อง บริการของเว็บ Google จัดทำโดย น. ส. จิราวรรณ ตุตะพะ น. ส. บุญยฤทธิ์ เรืองยะกลับ น. ส. อัญชลี รัตนสุวรรณ เสนอ อ. จามรรัตน์ ถุงเงิน.
บทที่ 5 การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชั่น สำหรับการคำนวณทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
By Mr.Piched Tanawattana ส่วนประกอบของ Excel แถบชื่อเรื่อง Title bar ปุ่มควบคุม Control Button เวิร์กชีต Worksheet แถบสถานะ Status bar แถบเมนู Menu.
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
การใช้งาน Microsoft Excel
บทที่ 9 การใส่รูปภาพ (Image).
2.5 ตัวแปรชุดมิติเดียวและตัวแปรชุดสองมิติ
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
สังเกตไฟล์เพื่อคลิก และดาวน์โหลด
ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
รายงาน เรื่อง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน
Microsoft Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรดชีต (spreadsheet) หรือตารางคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลในลักษณะต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่มักเก็บข้อมูลประเภทการคำนวณ.
อาจารย์ ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
รายงาน เรื่อง พื้นฐาน Microsoft Excel จัดทำโดย
เรื่อง การซ่อน - แสดงคอลัมน์ / แถว จัดทำโดย ด. ช. พงศ์วริศ ชาติชะนา ชั้น ม. 2/5 เลขที่ 37 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
เรื่อง การคำนวณข้ามชีท โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
เรื่อง คีย์ลัดที่ควรทราบ จัดทำโดย ด. ช. ธีธัช สุวัณณวะยัคฆ์ ชั้น ม.2/4 เลขที่ 1 เสนอ อ. ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชั่นสำหรับ
การใช้ Word เพื่อการคำนวณ
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
การใช้สูตรคำนวณ ในโปรแกรม Microsoft Excel 2007
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
อ.วชิระ หล่อประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
ลำดับการคำนวน ลำดับตัวจัดการ 1% เปอร์เซนต์ 2^ ยกกำลัง 3 * และ / การคูณ และการหาร 4 + และ - การบวกและการลบ 5= >= การเปรียบเทียบ.
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
เซลล์และเวิร์กชีตและการจัดการกับเวิร์กชีต
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
การสร้างตารางคำนวณด้วย
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับโปรแกรม
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ด. ญ. พัชชา กาญจนสำราญวงศ์ ชั้น ม. 2/3 เลขที่ 5 อ. ภานุมาศ ชาติทองแดง

ในบทที่ 1 นั้น ได้อธิบายว่าเซลต่างๆ ในเวิร์กชีตจะมีชื่อเรียกว่า Cell reference หรือ " ชื่อเดิม " ของเซล อยู่ทุกๆเซล ซึ่งชื่อนี้จะประกอบไป ด้วยชื่อคอลัมนและแถวของเซลนัน้ มารวมกัน เช่น เซลที่อยู่ตรงคอลัมน์ F แถวที่ 8 ก็จะเรียกว่าเซล F8 แต่ใน การทำงานจริงบางครั้งจำเป็นต้องตั้ง ชื่อเซลให้สื่อความหมายมากกว่านี้ เพื่อให้นำไปใช้งานได้ง่ายและสะดวก ขึ้น เช่น ถ้ามีเซลอยู่กลุ่มหนึ่งซึ่งเก็บ จำนวนเงินที่นำเข้าสินค้าเดือนกุมภา พันธุ์ แทนที่จะเรียก "E5:E8" แต้ถ้า เราตั้งว่า Feb หรือ ก. พ. ก็น่าจะ เข้าใจมากกว่า

ตั้งชื่อเซลโดยใช้ กล่องชื่อ ( Name box ) วิธีนี้เป็นวิธีที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการ ตั้งชื่อเซลหรือกลุ่มเซลเพียงกลุ่มเดียว เพราะคุณสามารถจะพิมพ์ชื่อเข้าไปใน ช่อง name box ( กล่องชื่อ ) ได้ทันที ( วิธีนี้ใช้ตั้งชื่อเซลได้อย่างเดียว แต่จะลบ หรือเปลี่ยนชื่อไม่ได้ ) 1. เลือกเซลหรือกลุมเซลที่ต้องการตั้ง ชื่อเป็นชื่อเดียวกัน 2. คลิกที่ช่อง name box( กล่องชื่อ ) พิมพ์ชื่อหรือกลุ่มเซลล์ 3. เสร็จแล้วกด Enter

1. เลือกกลุ่มเซลที่ต้องการนำมาคำนวรค่า 2. คลิกขวาบนแถบ Status ( สถานะ ) แล้ว เลือกผลลัพธ์ที่ต้องการจากเมนูลัดซึ่งจะ ประกอบด้วย None ( ไม่มี ) ไม่ต้องคำนวณหาผลลัพธ์ใดๆเลย Average ( ค่าเฉลี่ย ) หาค่าเฉลี่ยของตัวเลข Count ( จำนวนนับ ) นับจำนวนเวลทั้งหมดที่คุณ เลือกไว้ Count Nums ( นับเฉพาะสิ่งที่เป้นตัวเลข ) นับ จำนวนเซลที่เป็นตัวเลข Max ( ค่ามากที่สุด ) หาค่าสูงสุดจากทุกๆเซลที่ เลือก Min ( ค่าน้อยที่สุด ) หาค่าต่ำสุดจากทุกๆเซลที่ เลือก Sum ( ผลรวม ) หาผลรวมของตัวเลข

Opertor ความหมา ย ตัวอย่าง การใช้ + บวก ลบ 15-3 หรือ -6 * คูณ 8*3.5 / หาร 9/4 % เปอร์เซ็น ต์ 3%( มีค่า เท่ากับ 0.03) ^ ยกกำลัง 2^3( หมายถึง 2 ยกกำลัง 3

Operator ความหมา ย ตัวอย่าง การใช้ = เท่ากับ A1= B1 > มากกว่า A1> B1 < น้อยกว่า A1< B1 >=>= มากกว่า หรือเท่ากับ A1>= B1 <=<= น้อยกว่า หรือเท่ากับ A1<= B1 <> ไม่เท่ากับ A1<> B1