ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
FOOD PYRAMID.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
สื่อประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
BIOL OGY.
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การขับถ่ายของเสีย (Excretion)
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
โรคเอสแอลอี.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
การจัดระบบในร่างกาย.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ระบบน้ำเหลือง (Lymphatic system)
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
ห้องฉุกเฉิน 4 : ปอดจ๋า ห้องฉุกเฉิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4: ปอดจ๋า.
ปัสสาวะเป็นเลือด แผนการเรียนรู้ที่ 2:
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
โรคเบาหวาน ภ.
โรคเบาหวาน Diabetes.
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
กล้วย.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
การสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11 ระบบการกำจัดของเสีย โดย ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11

          ของเสีย  หมายถึง  สารที่เกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึม  (metabolism) ภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิตที่ไมมีประโยชน์ต่อร่างกาย  เช่น  น้ำ  แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์  ยูเรีย  เป็นต้น นอกจากนี้ สารที่มีประโยชน์แต่มีปริมาณมากเกินไปร่างกายก็จะกำจัดออก               เมแทบอลิซึม(metabolism) หมายถึงกระบวนการหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีที่เกิดขึ้นภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิต             การกำจัดของเสียในร่างกาย  เกิดขึ้นได้หลายทาง  เช่น ทางไต  ทางผิวหนัง  ทางปอด  ทางลำไส้ใหญ่ เป็นต้น

การกำจัดของเสียทางไต                    ไต ทำหน้าที่กำจัดของเสียในรูปของน้ำปัสสาวะ  มี 1 คู่  รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วดำ  อยู่ในช่องท้องสองข้างของกระดูกสันหลังระดับเอว  ถ้าผ่าไตตามยาวจะพบว่าไตประกอบด้วย           เนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ เปลือกไต ชั้นนอกกับเปลือกไตชั้นใน  มีขนาดยาวประมาณ10 เซนติเมตร  กว้าง  6  เซนติเมตร  และ หนา 3  เซนติเมตร บริเวณตรงกลางของไตมีส่วนเว้าเป็นกรวยไต            มีหลอดไตต่อไปยังกระเพาะปัสสาวะ  ไตแต่ละข้างประกอบด้วยหน่วยไต(nephron)นับล้านหน่วย เป็นท่อที่ชดไปมาโดยมีปลายท่อข้างหนึ่งตัน  เรียกปลายท่อที่ตันนี้ว่า”โบว์แมนส์แคปซูล         น้ำปัสสาวะจะประกอบด้วยน้ำ และ ยูเรียเป็นส่วนใหญ่  ส่วนแร่ธาตุมีอยู่เล็กน้อย  ถ้ามีการตกตะกอนของแร่ธาตุไปอุดตันทางเดินท่อปัสสาวะ  จะทำให้ปัสสาวะลำบาก  เรียกลักษณะอาการ          อย่างนี้ว่า “โรคนิ่ว”    เมื่อไตผิดปกติจะทำให้สารบางชนิดปนออกมากับน้ำปัสสาวะ เช่น เม็ดเลือดแดง  กรดอะมิโน  น้ำตาลกลูโคส  เป็นต้น  ปัจจุบันแพทย์มีการใช้ไตเทียมหรืออาจจะใช้การ         ปลูกไตให้กับผู้ป่วยที่ไตไม่สามารถทำงานได้

ไตเทียม  เป็นเครื่องมือที่อยู่ภายนอกร่างกาย  ส่วนการปลูกไตเป็นการนำไตของผู้อื่นมาใส่ให้กับผู้ป่วย

การกำจัดของเสียทางผิวหนัง                      การขับถ่ายทางผิวหนัง  ผิวหนังมีต่อมเหงื่อซึ่งประกอบด้วยท่อเล็กๆ ขดไปมารอบท่อ  มีกลุ่มเส้นเลือดฝอยมาพันอยู่  การกรองของเสียออกจากเลือดจะเกิดที่ต่อมเหงื่อนี้ ของเสียในเหงื่อ           ได้แก่ ยูเรีย  เกลือแร่  และ น้ำ จะผ่านท่อออกจากต่อมเหงื่อมาสู่ภายนอกร่างกายที่รูต่อมเหงื่อบนผิวหนัง  เหงื่อประกอบด้วยน้ำ  99 เปอร์เซ็นต์นอกนั้นเป็นเกลือโซเดียมคลอไรด์  ยูเรีย แอมโมเนีย            กรดอะมะโน  น้ำตาล  และกรดแล็กติก                     ผิวหนังมีการระบายความร้อนนอกจากร่างกายทางต่อมเหงื่อประมาณ 87.5  เปอร์เซ็นต์  ต่อมเหงื่อบางส่วนถูกควบคุมด้วยประสาทอัตโนมัติ  เมื่อตกใจหรือมีอารมณ์เครียดจะมีการกระตุ้น           ให้เหงื่อออกมากผิดปกติผู้ที่ออกกำลังกายมากๆ จะเสียน้ำและโซเดียมคลอไรด์ไปทางเหงื่อ  จึงต้องดื่มน้ำและเกลือโซเดียมคลอไรด์ทดแทน

การกำจัดของเสียทางลำไส้ใหญ่                 หลังจากการย่อยอาหารเสร็จสิ้นลง  อาหารส่วนที่เหลือและส่วนที่ร่างกายไม่สามารถย่อยได้จะถูกกำจัดออกจากร่างกายทางลำไส้ใหญ่ (ทวารหนัก) ในรูปรวมที่เรียกว่า “อุจจาระ”           ถ้าอุจจาระตกค้างอยู่ในลำไส้ใหญ่หลายวัน ผนังลำไส้ใหญ่จะดูดน้ำกลับเข้าไปในเส้นเลือด  ทำให้อุจจาระแข็งเกิดความยากในการขับถ่ายเรียกว่า “ท้องผูก”              

     การกำจัดของเสียทางปอด                        ของเสียที่ถูกกำจัดออกจากร่างกายทางปอด  ได้แก่  น้ำและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์  ซึ่งเกิดขึ้นจากกระบวนการหายใจของเซลล์ต่างๆ ในร่างกาย  ขั้นตอนในการกำจัดของเสียออก               จากร่างกายทางปอด  มีดังนี้                        1.  แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำที่เกิดขึ้นแพร่ออกจากเซลล์เข้าสู่หลอดเลือด โดยจะละลายปนอยู่ในเลือด                        2.  เลือดที่มีของเสียละลายปนอยู่จะถูกลำเลียงส่งไปยังปอด  โดยการลำเลียงผ่านหัวใจเพื่อส่งต่อไปแลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอด                        3.  เลือดที่มีของเสียละลายปนอยู่เมื่อไปถึงปอด  ของเสียต่างๆ ที่สะสมอยู่ในเลือดจะแพร่ผ่านผนังของหลอดเลือดเข้าสู่ถุงลมของปอด  แล้วลำเลียงไปตามหลอดลม  เพื่อกำจัดออก               จากร่างกายทางจมูกพร้อมกับลมหายใจออก

จบการนำเสนอ