การประดิษฐ์นาฬิกาแดด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
Advertisements

การยืมหนังสือด้วยตัวเอง (Self-Checkout)
การอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการ
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
โครงงาน 中国剪纸 การตัดกระดาษแบบจีน
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
รายงาน เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เรื่อง เข็มทิศ จัดทำโดย
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
การประดิษฐ์แผนที่ดาววงกลม
หันหน้าไปทางทิศเหนือ
เส้นสุริยวิถีเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทำให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น - ตก ค่อนไปทางเหนือหรือใต้ในรอบปี
กระดาษที่ใช้ในการพิมพ์
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทีมสำรวจอวกาศ ทีมสำรวจอวกาศ: ภารกิจ! แผนการจัดการเรียนรู้ 1: ภารกิจ 1.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
การทุบเยื่อกระดาษ ภายหลังจากที่ได้เตรียมวัสดุในการผลิตกระดาษ ซึ่งได้แก่ เยื่อกระดาษ ( Pulp ) วัสดุช่วยเสริมเนื้อกระดาษ ( Loading material ) วัสดุช่วยเสริมคุณภาพพิเศษแก่เนื้อกระดาษ.
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
(Global Positioning System)
.::หัวข้อโครงงาน::. การทดสอบนมวัวสด.
น้ำและมหาสมุทร.
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
หลักเกณฑ์การอ่านแผนที่
ขั้นตอนการประดิษฐ์มู่ลี่
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
ขั้นตอนการประดิษฐ์ที่รองแก้ว
Trail Shuttle สร้างแนวทางการเรียนรู้ด้วยตัวคุณเองผ่าน ระบบอินเตอร์แอคทีฟ intuitive fun.
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เลื่อยมือ hack saw.
การอ่านแผนที่ดาว นักเรียนเคยอ่านแผนที่ดาวหรือไม่ การอ่านแผนที่ดาวแตกต่างจากการอ่านแผนที่อื่น ๆ เพราะจะต้องนอนหงายหรือเงยหน้าอ่าน โดยยกแผนที่ดาวขึ้นสูงเหนือศีรษะ.
รายงาน เรื่อง โลกดาวเคราะห์บ้านของเรา (ตำแหน่งบนโลก) เสนอ
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
หน่วยที่ 15 การติดตั้ง จานรับสัญญาณ ดาวเทียม. ห.
การทำแผ่นวงจรพิมพ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ นายศรายุทธ คงตา Tel
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
โครงการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ(Gis) โดยใช้เครือข่าย internet สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาแจ้ห่ม.
เครื่องปั่นน้ำผลไม้.
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
การหาพิกัดภูมิศาสตร์ โครงการส่งเสริมและลดต้นทุนการผลิตข้าว
เมื่อแกนโลกเอียงจากเดิม 23
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Magnetic Particle Testing
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
ตัวอย่างการนำเสนอ (สีแดง) กล้องโทรทัศน์วงจรปิด ชนิด Hi Speed Shutter สัญลักษณ์ (สีแดง) กล้องโทรทัศน์วงจรปิด ชนิด Hi Speed Shutter (สีส้ม) กล้องโทรทัศน์วงจรปิดชนิดสีแบบติดตั้งอยู่กับที่
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
บทที่ 7 หลักการเย็บประกอบตัวกระโปรง.
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้แผ่นพับ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
เทคนิคการถ่ายภาพ.
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ดาวพุธ (Mercury).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
การเข้าไม้.
Spherical Trigonometry
ครูจรัสศรี พัฒน์ทอง และครูประไพ อิงคะวะระ รายการ “ ดอกไม้กับ ใบไม้ ”
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
เครื่องจักรและกรรมวิธีการตัดโลหะแผ่นสมัยใหม่
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
โลกและสัณฐานของโลก.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประดิษฐ์นาฬิกาแดด นาฬิกาแดดแบบศูนย์สูตร นาฬิกาเกิดแก้ว

Copyright ©2003 The LESA Project นาฬิกาแดดแบบศูนย์สูตร แผ่นที่ 1/2 ละติจูด ละติจูด 1/2 วัสดุอุปกรณ์ กระดาษแข็งขนาด A4 หนาไม่น้อยกว่า 180 แกรม จำนวน 2 แผ่น พิมพ์รูปนาฬิกาแดดแบบศูนย์สูตร แผ่นที่ 1 และ 2 ไม้บรรทัดยาว 1 ฟุต จำนวน 1 อัน เข็มทิศขนาดพกพา 1 อัน กระดาษแข็ง หรือ แผ่นรองตัด 1 แผ่น คัตเตอร์ กรรไกร กาวยาง หรือ เทปกาวสองหน้า Copyright ©2003 The LESA Project นาฬิกาแดดแบบศูนย์สูตร แผ่นที่ 1/2

Copyright ©2003 The LESA Project นาฬิกาแดดแบบศูนย์สูตร แผ่นที่ 2/2 สเกลเวลา สเกลเวลา ลองจิจูด ขั้นตอนวิธีการประกอบ หาพิกัดตำแหน่งของท่านบนแผนที่ เพื่อ - เลือกเลือกเส้นละติจูดในแผ่นที่1 สำหรับพับ - เลือกเส้นลองจิจูดบนสเกลเวลาในแผ่นที่ 2 สำหรับตัด ใช้กรรไกรหรือมีดตัดตามแนวที่กำหนดไว้ ทั้งสองแผ่น จะได้ชิ้นงานทั้งหมด 4 ชิ้น นำส่วนสเกลเวลาที่ตัดจากแผ่นที่ 2 มาทากาว หรือติดกาวสองหน้า แล้วนำไปติดเข้ากับ “ตำแหน่งติดแผ่นบอกเวลา“ ของแผ่นที่ 1 (ควรติดให้สเกลตรงกัน) นำคัตเตอร์กรีดเบา ๆ บนเส้นที่กำหนดให้ พับทั้งสองส่วนที่เหลือ เพื่อช่วยให้พับได้ง่ายขึ้น 5 พับส่วนของสันกำเนิดเงาเข้าหากัน แล้วติดกาว เพื่อให้เพิ่ม ความแข็งแรง พร้อมทั้งกางส่วนที่พับสำหรับติดกาวออก 6 พับส่วนองศาละติจูด เข้าทางด้านข้าง เพื่อยึดติดกับ ส่วนพับของฐาน โดยทากาว หรือติดเทปกาวสองหน้า ในบริเวณที่กำหนด 7 นำสันกำเนิดเงาที่พับและทากาวแล้ว มาติดให้ตั้งฉากกับ หน้าปัดเวลาโดยให้ฐานของสันกำเนิดเงาอยู่ตามแนว เส้นประที่กำหนดไว้ ทั้งสองด้าน วิธีใช้งาน วางนาฬิกาแดดบนพื้นราบที่มีแสงแดดส่องถึง หันให้สันกำเนิดเงาชี้ไปทางทิศเหนือ-ใต้ โดยใช้เข็มทิศ อ่านเวลา โดยดูจากเงาบนสเกลเวลา Copyright ©2003 The LESA Project นาฬิกาแดดแบบศูนย์สูตร แผ่นที่ 2/2

สเกลเวลา สเกลเวลา นาฬิกาเกิดแก้ว แผ่นที่ 1/2 Copyright ©2003 Kirdkao Observatory นาฬิกาเกิดแก้ว แผ่นที่ 1/2

สเกลเวลา สันกำเนิดเงา ขั้นตอนวิธีการประกอบ วิธีการใช้งาน ใช้กรรไกร หรือ มีดตัดตามแนวที่กำหนด ทั้งในส่วนแผ่นบอกเวลา และสันกำเนิดเงา ซึ่งจะได้ชิ้นงานทั้งหมด 3 ชิ้น นำส่วนสเกลเวลาที่ตัดจากแผ่นที่ 2 มาทากาว หรือติดกาวสองหน้า แล้วนำไปติดเข้ากับด้านหลังของแผ่นบอกเวลาจากแผ่นที่ 1 (ควรติดให้สเกลตรงกัน) กดคัตเตอร์กรีดเบา ๆ บนเส้นที่กำหนดให้ และเพื่อช่วยให้ทำการพับได้ง่ายขึ้น พับส่วนของสันกำเนิดเงาเข้าหากัน แล้วติดกาวเพื่อให้เกิดความแข็งแรง พร้อมทั้งกางฐานพับสำหรับติดกาวออก พับหน้าปัดบอกเวลา (แผ่นที่ 1) ขึ้นตั้งฉากกัน นำสันกำเนิดเงาที่พับและทากาวแล้ว มาติดตั้งฉากกับแผ่นสเกล โดยให้แนวของสันกำเนิดเงาอยู่ตามแนวเส้นประที่กำหนดไว้ วิธีการใช้งาน วางนาฬิกาแดดบนพื้นราบที่มีแสงแดดส่องถึง หันสันกำเนิดเงาชี้ไปทางทิศเหนือ โดยใช้เข็มทิศเทียบกับลูกศรบอกทิศของนาฬิกาแดด อ่านเวลา โดยดูจากเงาบนสเกลเวลา Copyright ©2003 Kirdkao Observatory นาฬิกาเกิดแก้ว แผ่นที่ 2/2

หมายเหตุ: นาฬิกาแดดทุกชนิดสามารถคลาดเคลื่อนจากเวลาจริง ประมาณ ±15 นาที แล้วแต่ฤดูกาล เนื่องจาก แกนของโลกเอียง 23.5° และวงโคจรของโลกเป็นรูปวงรี ทำให้ระยะทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ไม่ใช่ระยะตายตัว เวลามาตรฐานประเทศไทย คิดจากลองจิจูด 105° ที่ จ.อุบลราชธานี แต่นาฬิกาแดดแบบสร้างเอง ที่ทางโครงการการเรียนรู้เรื่องโลกและอวกาศ สร้างขึ้นให้ดาวน์โหลดทางอินเทอร์เน็ตนั้น ออกแบบขึ้นสำหรับลองจิจูด 100.5° (กรุงเทพมหานคร) ดังนั้นหากนำนาฬิกานี้ไปใช้ ณ ลองจิจูดอื่น เวลาอาจจะเร็วหรือช้าไป องศา (ลองจิจูด) ละ 4 นาที