ทำวัตรเย็น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

3. เป้าหมายสูงสุด คือ นิพพาน
การใช้เทคโนโลยีสื่อผสม การเรียนการสอน
หนังสือบุตรสิรา บทที่ 3 ข้อ “ความถ่อมตน” ความถ่อมตน.
ชีวิตคืออะไร ? ชีวิตตามสภาพของมันเอง ขันธ์ 5 เป็นส่วนประกอบของชีวิต
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา กิจกรรมในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
รักทางพุทธศาสนา.
สื่อประกอบการเรียนรู้
หลักธรรมสำคัญจากวันมาฆบูชา
บทที่๑ กำเนิดพระพุทธศาสนา
เด็กชาย บัณฑิต ทัพธานี ม.3/2 เลขที่ 2
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
พระพุทธศาสนา (Buddhism) Lord Buddha.
พระพุทธเจ้าและกำเนิดพระพุทธศาสนา
จดหมายข่าว KM สำนักวิชาการ
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
วิปัสสนาญาณ 9.
สุมนมาลาการ.
เจาคันธีสถูป อนุสรณ์แสดงว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จจากพุทธคยา
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
วิธีการแสวงหาโมกขธรรม ของพระพุทธเจ้า
友情 มิตรภาพ Dec 2011.
คนเราเกิดมา หลายภพชาติ ต่างมีเจ้ากรรมนายเวรต่างกัน
ทำวัตรเย็น ปรับปรุงล่าสุด 11/09/54.
ทำวัตรเช้า.
วิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัส
พระป่า และ คำสอน ชุด ๑.

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง สมบัติของผู้ดี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 วิมล งามสงวน โรงเรียนวัดไผ่หลงราษฎร์เจริญ (ศูนย์เรียนรวมโรงเรียนขนาดเล็กในตำบลวังน้ำคู้)
Sound volume Marvelous Moment วันทา มารีอา เปี่ยมด้วยหรรษทาน.
วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว.
การใช้หลักศาสนา ฝ่าวิกฤติชีวิต
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
Download ใน หรือ
Download ใน หรือ
วันอาสาฬหบูชา.
นายกษิดิ์เดช วันโทน เสนอ เรื่อง วันสำคัญในพระพุทธศาสนา วิชา
กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
การบริหารจิต.
อิติปิโสภควา อรหังสัมมา สัมพุทธ โท วิชาจรณะสัมปันโน สุคโต โลกวิทู อนุตโร ปุริสทัม มะสารถิสัต สัตถา เทวะมนุษย์ สานัง พุทธโท ภควาติ ตั้งนะโม 3 จบ.
การเตรียมความพร้อมสำหรับการเก็บเกี่ยว
ความเชื่อ อุปสรรคขจัดได้ ด้วย
อาฏานาฏิยปริตร (พระพุทธเจ้า 28 พระองค์ - เดินหน้า)‏
อิมินา สักกาเรนะ ตังพุทธัง อะภิปุชะยามิ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ สอนโดย...ครูธีระพล เข่งวา
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
การรู้สัจธรรมของชีวิต
วิชา พุทธประวัติ 6 ปรินิพพาน
ฝ่ามรสุมชีวิต.
ธรรมะประจำวัน โดยพระอาจารย์พุทธทาสภิกขุ สวนโมกขพลาราม
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
ครูธีระพล เข่งวา 1 สอนโดย … ครูธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
                                                                                       
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
เรื่อง มงคล ๓๘ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวังไกลกังวล
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
เรื่อง ประวัติและความสำคัญ ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
ขอเชิญสวดมนต์ถวายพระพร แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
ความเชื่อและพระคุณ โรม 5:21
ครูธีระพล เข่งวา 1 ครูผู้สอน …… นายธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
ทุกข์ - ธรรมที่ควรรู้ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือสภาพที่มนุษย์ทนอยู่ได้อยาก เป็นสภาวะทางธรรมชาติที่ควรกำหนดรู้ หัวข้อธรรมที่สนับสนุนในการศึกษา.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทำวัตรเย็น

บทนมัสการพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน (กราบ)

สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดีแล้ว ธัมมัง นะมัสสามิ ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม (กราบ)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว สังฆัง นะมามิ ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์ (กราบ)

บทนมัสการพระพุทธเจ้า นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า, พระองค์นั้น อะระหะโต ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส สัมมา สัมพุทธัสสะ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง (ว่า ๓ หน)

บทบูชาพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ นะโม เม สัพพะพุทธานัง อุปปันนานัง มะเหสินัง ตัญหังกะโร มะหาวีโร เมธังกะโร มะหายะโส สะระณัง กะโร โลกะหิโต ทีปังกะโร ชุตินธะโร โกณฑัญโญ ชะนะปาโมกโข มังคะโล ปุริสาสะโภ สุมาโน สุมาโน ธีโร เรวะโต ระติวัฑฒะโน โสภีโต คุณะสัมปันโน อะโนมะทัสสี ชะนุตตะโม ปะทุโม โลกะปัชโชโต นาระโท วะระ สาระถี ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร สุเมโธ อัปปะฎิปุคคะโล

สุชาโต สัพพะโลกัคโค ปิยะทัสสี นะราสะโภ อัตถะทัสสี การุณิโก ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท สิทธัตโถ อะสะโม โลเก ติสโส จะ วะทะตัง วะโร ปุนโน จะ วะระโท พุทโธ วิปัสสี จะ อะนูปะโม สิขี สัพพะหิโต สัตถา เวสสะภู สุขะทายะโก กะกุสันโธ สัตถะวาโห โกนาคะมะโน ระณัญ ชะโห กัสสะโป สิริสัมปันโน โคตะโม ศากยะปุงคะโว ฯ

บทพิจารณาสังขาร สัพเพ สังขารา อะนิจจา สัพเพ สังขารา ทุกขา สังขารคือร่างกายจิตใจ,แลรูปธรรมนามธรรมทั้งหมดทั้งสิ้น มันไม่เที่ยง, เกิดขึ้นแล้วดับไป มีแล้ว หายไป สัพเพ สังขารา ทุกขา สังขารคือร่างกายจิตใจ, แลรูปธรรมนามธรรมทั้งหมดทั้งสิ้น มันเป็นทุกข์ทนยาก, เพราะเกิดขึ้นแล้ว แก่ เจ็บ ตายไป สัพเพ ธัมมา อะนัตตา สิ่งทั้งหลายทั้งปวง, ทั้งที่เป็นสังขารแลมิใช่สังขารทั้งหมด ทั้งสิ้น, ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน, ไม่ควรถือว่าเราว่าของเรา ว่าตัว ว่าตน ของเรา

สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ ยะถา ปัญญายะ ปัสสะติ เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา เมื่อนั้น ย่อมเบื่อหน่ายในทุกข์ ที่ตนหลงนั่นแหละ เป็นทางแห่งพระนิพพาน อันเป็นธรรมเครื่องหมดจด สัพเพ สังขารา ทุกขาติ ยะถา ปัญญายะ ปัสสะติ เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์

อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา เมื่อนั้น ย่อมเบื่อหน่ายในทุกข์ ที่ตนหลงนั่นแหละ เป็นทางแห่งพระนิพพาน อันเป็นธรรมเครื่องหมดจด สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ ยะถา ปัญญายะ ปัสสะติ เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า ธรรมทั้งปวง เป็นอนัตตา เมื่อนั้น ย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ ที่ตนหลงนั่นแหละ เป็นทางแห่งพระนิพพาน อันเป็นธรรมเครื่องหมดจด

บทพิจารณา ปัญจอภิณหปัจจเวกขณะ เรามีความแก่เป็นธรรมดา ล่วงพ้นความแก่ไปไม่ได้ เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปไม่ได้ เรามีความตายเป็นธรรมดา ล่วงพ้นความตายไปไม่ได้ เราละเว้นเป็นต่าง ๆ คือว่า พลัดพรากจากของรัก ของเจริญใจทั้งหลาย

เรามีกรรมเป็นของ ๆ ตน เป็นผู้รับผลของกรรม เป็นผู้มีกรรมเป็นกำเนิด เป็นผู้มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ เป็นผู้มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย จักทำกรรมอันใดไว้ จะดีหรือชั่วก็ตาม ย่อมเป็น ผู้รับผล ของกรรมนั้น เราทั้งหลาย พึงพิจารณาเนือง ๆ อย่างนี้แล ฯ

วยธัมมา สังยารา อัปปมาเทน สัมปาเทถ ปัจฉิมโอวาท วยธัมมา สังยารา อัปปมาเทน สัมปาเทถ สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมสลายไปเป็นธรรมดา ท่านทั้งหลายจงทำความไม่ประมาณให้ถึงพร้อมเถิด

เจริญเมตตาแก่ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข อะหัง สุขิโต โหมิ ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข อะหัง นิททุกโข โหมิ ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากความทุกข์กายและทุกข์ใจ อะหัง อะเวโร โหมิ ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากเวรและกรรม

อะหัง อัพพะยาปัชโฌ โหมิ ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากอุปสรรคอันตรายทั้งปวง สุขี อัตตานัง ปริหะรามิ ขอให้ข้าพเจ้าจงมีสติและสัมปชัญญะอยู่ทุกเมื่อ รักษากาย วาจา ใจ ให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด

เจริญพรหมวิหาร สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุข ๆ เถิด, อย่าได้มีเวรแก่กัน อะโรคา โหนตุ จงเป็นสุข ๆ เถิด อย่าได้มีความเจ็บไข้ ลำบากกาย ลำบาก ใจเลย

อัพพะยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุข ๆ เถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย อะนีฆา โหนตุ จงเป็นสุข ๆ เถิด อย่าได้มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเลย สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตัวของตน ให้พ้นจากทุกข์ภัย ทั้งสิ้นเถิด