โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ
Advertisements

ค่าของทุน The Cost of Capital
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
SMART Disclosure Program
กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
จะประหยัด พลังงาน ได้อย่างไร? ถ้ายังไม่รู้ว่า เค้าคิดค่าไฟ เรายังไง???
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
การบริหารงานงบประมาณ
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
บทที่ 4 งบการเงิน.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
การจัดสวัสดิการ ของสหกรณ์
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
25 กุมภาพันธ์ 2547 คริส และ ชื่นชม กรีเซน
นโยบายและการกำกับดูแลพลังงาน จากมุมมองของค่าไฟฟ้า
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน “ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า”
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
ค่า Ft.
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
สินค้าคงเหลือ.
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
การบันทึกลดหย่อนภาษี(ล.ย.01) และต้นทุนกิจกรรมย่อย
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
แนวนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
มาตรฐานสากลของระบบคุ้มครองเงินฝาก
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
ชุมชนและโรงไฟฟ้า กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
1 เรื่อง หลักเกณฑ์และ เงื่อนไข การ พิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือสิ่ง สาธารณูปโภคอื่น เพื่อการ จัดสวัสดิการภายในส่วน ราชการ.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า ปี 2554-2558

1. ความเป็นมา 1 มี.ค. 2554 : คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบตามมติ กพช. ในการประชุมเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554 เรื่องนโยบายกำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทย ปี 2554 - 2558 การปรับปรุงโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า เนื่องจากหลักเกณฑ์ทางการเงินที่ใช้สำหรับการพิจารณากำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าที่ใช้ในปัจจุบัน เป็นข้อเสนอหลักเกณฑ์ทางการเงินที่ใช้สำหรับการพิจารณากำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าในปี 2549 – 2551 จึงควรมีการทบทวนโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศใหม่ เพื่อให้สอดคล้องสภาวะเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลง ธ.ค. 2550 : พรบ. ประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 ได้มีผลบังคับใช้ซึ่งกำหนดให้ กกพ. กำหนดหลักเกณฑ์การกำหนดอัตราค่าบริการของผู้รับใบอนุญาตแต่ละประเภทภายใต้นโยบายและแนวทางที่ กพช. ให้ความเห็นชอบ 2

2. นโยบายโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2554 – 2558 การปรับค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายส่ง หลักการทั่วไป วัตถุประสงค์ 3

2. นโยบายโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2554 – 2558 1. วัตถุประสงค์ เพื่อกำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทยให้สะท้อนถึง ต้นทุนในการจัดหาไฟฟ้าที่เหมาะสมและเป็นธรรม ส่งเสริมให้มีการใช้ไฟฟ้าที่สะท้อนถึงต้นทุนค่าไฟฟ้าที่แตกต่างกันตาม ช่วงเวลาในแต่ละวัน ส่งเสริมให้มีการใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับสภาวะ เศรษฐกิจและ คำนึงถึงการดูแลผู้ใช้ไฟฟ้าบ้านอยู่อาศัยที่มีรายได้น้อย 4

2. นโยบายโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2554 – 2558 2. หลักการทั่วไป อัตราค่าไฟฟ้าต้องมีความเหมาะสมกับลักษณะโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม โดยเป็น อัตราค่าไฟฟ้าที่สะท้อนถึงต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์มากที่สุด เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้ ไฟฟ้าอย่างคุ้มค่าและมีการให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ อัตราค่าไฟฟ้าจะต้องส่งเสริมความเสมอภาคของประชาชนในทุกภูมิภาค สำหรับผู้ใช้ ไฟฟ้าประเภทเดียวกันต้องเป็นอัตราเดียวทั่วประเทศ (Uniform Tariff) ยกเว้นไฟฟ้า พิเศษสำหรับธุรกิจบนเกาะ โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าจะมีการแยกต้นทุนของแต่ละกิจการ ได้แก่ กิจการผลิต กิจการระบบส่ง กิจการระบบจำหน่าย และกิจการค้าปลีก ออกให้เห็นอย่างชัดเจนและ โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้อย่างเป็นระบบ อัตราค่าไฟฟ้าจะต้องอยู่ภายใต้กรอบค่าใช้จ่ายการดำเนินงานของการไฟฟ้าที่มี ประสิทธิภาพ 5

2. นโยบายโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2554 – 2558 2. หลักการทั่วไป เพื่อให้การไฟฟ้าทั้ง 3 แห่ง มีฐานะการเงินที่สามารถขยายการดำเนินงานได้อย่าง เพียงพอในอนาคตซึ่งอัตราผลตอบแทนทางการเงินจะอ้างอิงจากอัตราส่วน ผลตอบแทนการลงทุน (ROIC) เป็นหลัก และให้ใช้อัตราส่วนรายได้สุทธิต่อการชำระ หนี้ (DSCR) และอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนทุน (Debt/Equity Ratio) ประกอบการ พิจารณา เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมต่อผู้ใช้ไฟฟ้า ควรให้มีกลไกในการติดตามการลงทุนของ การไฟฟ้าให้เป็นไปเพื่อรักษามาตรฐานคุณภาพบริการและความมั่นคงของระบบไฟฟ้า โดยกำหนดให้มีบทปรับการลงทุนของการไฟฟ้าที่ไม่เป็นไปตามแผนการลงทุนที่ เหมาะสมหรือการลงทุนในโครงการที่ไม่มีประสิทธิภาพ (Crawl Back) 6

2. นโยบายโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2554 – 2558 3.โครงสร้างอัตราขายส่ง โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายส่งที่ กฟผ. ขายให้ กฟน. และ กฟภ. ควรกำหนดเป็น โครงสร้างเดียวกัน ประกอบด้วย ค่าผลิตไฟฟ้า และค่ากิจการระบบส่ง โดยค่าไฟฟ้าจะ แตกต่างกันตามระดับแรงดันและช่วงเวลาของการใช้ไฟฟ้า (Time of Usage-TOU) กำหนดบทปรับค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (Power Factor) ในระดับขายส่งสำหรับการ ไฟฟ้าทั้ง 3 แห่งและผู้ประกอบกิจการไฟฟ้าที่เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ใน ปัจจุบัน กำหนดเงินชดเชยรายได้ระหว่างการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่ายในลักษณะที่ต้องติดตาม ตรวจสอบตามหน่วยจำหน่ายที่เกิดขึ้นจริง (Output Base)  โดยผ่านกลไกกองทุน พัฒนาไฟฟ้าตามมาตรา 97 (1) ของ พรบ. ประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550   7

2. นโยบายโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2554 – 2558 4.โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก ประกอบด้วย ค่าไฟฟ้าฐาน (G, T, D, R) ควรมีการทบทวนทุก 2 ปี ค่าไฟฟ้าตามสูตรปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) กำหนดให้อัตราค่าไฟฟ้าขายปลีกสะท้อนต้นทุนตามช่วงเวลาและลักษณะการใช้ไฟฟ้าของ ผู้ใช้ไฟฟ้าแต่ละประเภทให้มากที่สุด เพื่อส่งสัญญาณในการประหยัดการใช้พลังงาน ตลอดจนมีการดูแลผู้ใช้ไฟฟ้าบ้านอยู่อาศัยที่มีรายได้น้อยที่ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 90 หน่วยต่อ เดือน ทั้งนี้ บ้านอยู่อาศัยที่มีรายได้น้อยดังกล่าวจะได้รับการอุดหนุนค่าไฟฟ้าจากผู้ใช้ไฟฟ้า ประเภทอื่นๆ โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าฐานมีลักษณะเป็นอัตราก้าวหน้า (Progressive Rate) และมีการ กำหนดอัตราค่าบริการรายเดือน ทั้งนี้ ผู้ใช้ไฟฟ้าสามารถเลือกใช้อัตราค่าไฟฟ้าที่แตกต่าง กันตามช่วงเวลาของการใช้ อัตราค่าไฟฟ้าควรเป็นอัตราที่มีการทบทวนหรือปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ โดยพิจารณาตาม องค์ประกอบของต้นทุนที่แท้จริง เพื่อให้อัตราค่าไฟฟ้าต่อหน่วยไม่ผันผวนเกินสมควร รวมทั้งการบริหารจัดการต้นทุนให้มีประสิทธิภาพ ตลอดจนการอุดหนุนระหว่างกลุ่มให้ น้อยลงเท่าที่ทำได้ 8

2. นโยบายโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2554 – 2558 4.โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก กำหนดบทปรับค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (Power Factor) ในระดับขายปลีกสำหรับผู้ใช้ ไฟฟ้ากิจการขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และกิจการเฉพาะอย่าง เพื่อให้สะท้อนถึงภาระการ ลงทุนในการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อผู้ใช้ไฟฟ้า อัตราค่าไฟฟ้าขายปลีกควรสะท้อนความมั่นคง ความถี่ของแรงดันไฟฟ้า ตามลักษณะความ ต้องการใช้ไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทต่างๆ กำหนดให้มีการคำนวณอัตราค่าบริการพิเศษสำหรับธุรกิจบนเกาะและอัตราค่าไฟฟ้าสำหรับ ผู้ใช้ไฟฟ้าระบบเติมเงินเพื่อสะท้อนต้นทุนที่แท้จริงของการดำเนินโครงการของการไฟฟ้า 9

2. นโยบายโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2554 – 2558 5.การปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ การปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ โดยใช้สูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (ค่า Ft) เพื่อสะท้อนต้นทุนถึงการเปลี่ยนแปลงของต้นทุนที่อยู่นอกเหนือการควบคุม ของการไฟฟ้าอย่างแท้จริง มีความโปร่งใส เป็นธรรมต่อผู้ใช้ไฟฟ้า ค่า Ft ควรประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิง และค่าซื้อไฟฟ้า ที่เปลี่ยนแปลงไป จากค่าเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้าฐานที่ใช้ในการกำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า รวมถึงผลกระทบจากนโยบายของรัฐ เช่น ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียน เป็นต้น ค่า Ft ควรมีการเปลี่ยนแปลงทุก 4 เดือน เพื่อมิให้เป็นภาระต่อการไฟฟ้า และเพื่อให้ ผู้ใช้ไฟฟ้าไม่ต้องรับภาระความผันผวนของค่าไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงบ่อยเกินไป ดังนั้น จึงควรพิจารณาใช้ค่าถัวเฉลี่ย 4 เดือน 10

โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าปี 2554-2558 ค่าไฟฟ้าฐาน ปี 2554 สูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ Ft

โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า ค่าก่อสร้างโรงไฟฟ้า ค่าก่อสร้างระบบสายส่ง ค่าก่อสร้างสายจำหน่าย ค่าการผลิตพลังงานไฟฟ้า ราคาเชื้อเพลิงฐาน อัตราแลกเปลี่ยน อัตราเงินเฟ้อ ค่าไฟฟ้า ค่าไฟฟ้าฐาน ค่า Ft VAT ค่าเชื้อเพลิงปัจจุบัน VS ฐาน ค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิงและซื้อไฟฟ้าที่ เปลี่ยนแปลงไปจากค่าไฟฟ้าฐาน ค่าใช้จ่ายตามนโยบายของรัฐ ผลต่าง

ราคาน้ำมันเตา 3.5%S ราคาก๊าซ และค่าไฟฟ้า ม.ค.48-ส.ค.55

ภาพรวมการใช้ไฟฟ้าปี 2554 การใช้ไฟฟ้าแยกตามประเภทผู้ใช้ไฟ การใช้ไฟฟ้าแยกตามเชื้อเพลิง (รวมทั้งสิ้น 163,668 กิกะวัตต์-ชั่วโมง) (จำนวนผู้ใช้ไฟฟ้ารวม 19 ล้าน ครัวเรือน)

ขอบคุณ