การจัดการพาหะนำโรค ในสถานการณ์ปัจจุบัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 การเผยแพร่ความรู้ และประชาสัมพันธ์ให้กับสาธารณชนทราบ
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกล คนไทยมีส่วนร่วม
ไข้เลือดออก ( Denque hemorrhagic fever )
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
เครื่องหมายสินค้ามาตรฐานสหกรณ์
เลือด เลือด อร่อยจัง อย่างนี้ต้องจัดการซะแล้ว หนีก่อนดีกว่า ทำไมยุงเยอะจัง อย่างนี้ต้องจัดการซะแล้ว.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 พค 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
ทางเลือกในการควบคุมยุงพาหะนำโรค
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
โครงการพัฒนามาตรฐานการจัดทำฉลากเคมีภัณฑ์
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 18 กันยายน 2552
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ไข้เลือดออก.
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
สิ่งที่เรียนรู้จากการควบคุมโรคไข้เลือดออกในปีที่ผ่านมา
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทางรณรงค์ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกของชาติ ด้วยยุทธศาสตร์ “รวมพลัง เอาชนะไข้เลือดออก”
ผู้ป่วยมาลาเรียคนไทยและต่างชาติ
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการพาหะนำโรค ในสถานการณ์ปัจจุบัน นายบุญเสริม อ่วมอ่อง สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค

โรคติดต่อที่นำโดยยุงที่สำคัญในประเทศไทย ไข้มาลาเรีย โรคเท้าช้าง ไข้เลือดออก ไข้สมองอักเสบ ไข้ปวดข้อยุงลาย

จำนวนผู้ป่วยโรคติดต่อนำโดยยุงในประเทศไทย ปี ไข้ เลือดออก มาลาเรีย โรค เท้าช้าง สมองอักเสบ ปวดข้อยุงลาย 2551 89,626 28,902 191 64 2,494 2550 65,581 30,889 197 43 - 2549 46,829 28,692 218 49 2548 45,893 28,131 254 78 2547 39,135 23,656 271 39 2546 63,657 19,910 354 37

จำนวนผู้ป่วยโรคติดต่อนำโดยยุงในประเทศไทย ผู้ป่วย ปี 51 ผู้ เสียชีวิต ปี 51 จำนวนป่วย ปี 52 มาลาเรีย 28,902 36 15,499(20 ก.ย.52) ไข้เลือดออก 89,626 102 36,359(12 ก.ย.52) ไข้ปวดข้อยุงลาย 2,494 40,700 (15 ก.ย. 52) โรคเท้าช้าง 191 141 (ก.ค. 52) ไข้สมองอักเสบ 64 156 (12 ก.ย.52)

โรคติดต่อนำโดยแมลง คน สภาพแวดล้อม เชื้อ พาหะ

หลักการควบคุมยุงพาหะนำโรค Personal Protection Bednets Screens Clothes Repellents Adult control IRS ITBN Space spraying Adult Egg Pupae Larvae Aquatic stage control Reduced breeding place Trap Larvicide Predator & parasite

แนวทางการควบคุมและจัดการ โรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย การลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงพาหะนำโรค การค้นหาผู้ป่วยและให้การรักษาอย่างรวดเร็ว การป้องกันผู้ป่วยไม่ให้แพร่โรค การกำจัดยุงที่มีเชื้อให้หมดอย่างรวดเร็ว การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

Integrated Vector Control การควบคุมพาหะนำโรคแบบผสมผสาน คือการนำมาตรการควบคุมพาหะนำโรค ทุกชนิดที่เหมาะสม ปลอดภัย และเข้ากัน ได้ มาผสมผสานใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดพาหะนำโรค WHO 1983

Integrated Vector Management(IVM) การจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน คือกระบวนการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสมใน การควบคุมพาหะนำโรค เพื่อลดหรือหยุดยั้ง การแพร่เชื้อโรค The latest definition of IVM proposed by WHO in 2007

Integrated Vector Management : การเลือกวิธีควบคุมแมลง บนพื้นฐานความรู้ทางด้านชีววิทยาของพาหะนำโรค การแพร่โรคและอัตราป่วย การควบคุมมักใช้หลายวิธีการ ที่ดำเนินการร่วมกันได้ ดำเนินการร่วมกันระหว่างหน่วยงานสาธารณสุข หน่วยงานวิจัย องค์กรสาธารณะและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้รับความร่วมมือจากชุมชนและผู้ส่วนได้ส่วนเสีย ดำเนินการภายใต้กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ใช้สารกำจัดแมลงอย่างสมเหตุสมผล มีระบบการบริหารจัดการที่ดี

แนวทางการเลือกใช้สารกำจัดแมลง เพื่อจัดการพาหะนำโรค ผ่านการประเมินผลจากองค์การอนามัยโลกและกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ ได้รับการขึ้นทะเบียนจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา รูปแบบเหมาะสมในการนำมาใช้ มีการศึกษาประสิทธิภาพในสนามของประเทศไทย พาหะนำโรคยังไม่ต้านทานต่อสารเคมีในระดับสูง

การกำหนดคุณลักษณะสารเคมี คุณสมบัติ : ทางเคมี ทางกายภาพ สารปนเปื้อน : น้ำ สิ่งแปลกปลอม การเสนอราคา สำเนาหนังสือการได้รับการขึ้นทะเบียน สำเนาฉลาก ผลการทดสอบประสิทธิภาพ ผลการวิเคราะห์คุณสมบัติ การรับรองเป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์/ผู้แทน การบรรจุ & หีบห่อ : ภาชนะ ฉลาก การส่งมอบ : Lot/Batch การตรวจรับ : วิเคราะห์คุณสมบัติ

ขอบคุณครับ