Code of Practice no.5 Food Incidents and Food Alerts

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ความหมายของการวางแผน
แนวทางการส่งเสริมความปลอดภัยด้านยาระดับจังหวัด
ประชุมคณะทำงานและคณะ เลขาฯ การจัดทำรายงาน UNGASS ธันวาคม 2550.
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การพัฒนาองค์กรด้วยนวัตกรรม ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ประชุมชี้แจง แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วันที่ 22 กันยายน 2552 ณ ห้องประชุม 200 โดย นายประสงค์ ประยงค์เพชร.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector. ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
สมบูรณ์ บุญกิจอนุสรณ์ กองงานด่านอาหารและยา
ระบบเครือข่ายข้อมูลความปลอดภัยด้านอาหารระหว่างประเทศ
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประเมินความเสี่ยงและการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องสำอาง โดย เภสัชกรหญิงวีรวรรณ แตงแก้ว ผู้อำนวยการกองควบคุมเครื่องสำอาง.
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การปรับตัว ของธุรกิจขายยา
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2551 รายเดือน จดหมายข่าว Food Safety ประจำเดือนนี้ ขอเสนอเรื่องที่ทำให้ กรมส่งเสริมการเกษตรได้มี หนังสือให้เขต ศูนย์ปฏิบัติการ.
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เป็นการดำเนินงานด้วยวิธีทางวิศวกรรมและบริหารจัดการที่จะวิเคราะห์ว่ามี
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Code of Practice no.5 Food Incidents and Food Alerts Food Safety Authority of Ireland (FSAI)

1. บทนำ กำหนดการจัดระบบความรับผิดชอบและการจัดการอุบัติการณ์ ที่เกิดขึ้นในระดับท้องถิ่นและประเทศ จากผู้ที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานภาครัฐ, ผู้ประกอบธุรกิจด้านอาหาร และประเทศสมาชิกในกลุ่มสหภาพยุโรป โดยผ่านระบบเตรียมพร้อมเร่งด่วนของประเทศ ( The Rapid Alert System for Food and Feed, RASFF) เป้าหมาย จำแนกประเภทของอุบัติการณ์ด้านอาหารเพื่อการบริหารจัดการ อธิบายวิธีการบริหารจัดการใบแจ้งเตือนของ RASFF กำหนดวิธีการสื่อสารอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างผู้ประกอบธุรกิจอาหาร, หน่วยงานภาครัฐ, FSAI กำหนดรายละเอียดและวิธีดำเนินการเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับอันตรายที่เกิดในอาหารระดับชาติ กำหนดรายละเอียดระบบการสอบสวนข้อร้องเรียนที่เกิดจากอาหารนำเข้ามาจากประเทศสมาชิกอื่นๆ 2. วัตถุประสงค์

3. ขอบข่าย ใช้กับอุบัติการณ์ด้านอาหารและการแจ้งเตือนภัยเพื่อเตรียมพร้อมที่เกี่ยวข้องกับอาหารเท่านั้น ใช้เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลความปลอดภัยด้านอาหารที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศไอร์แลนด์กับประเทศสมาชิกอื่นๆ ที่อยู่ภายใต้การจัดการระบบการติดต่อประสานงานหน่วยเดียว (Single Liaison) ใช้กับหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง, ผู้ประกอบธุรกิจด้านอาหารและ FSAI ใช้ร่วมกับเอกสารฉบับอื่นที่เกี่ยวข้อง

4. คำจำกัดความ อันตราย (Hazard): สารหรือวัตถุทางชีวภาพ เคมีหรือกายภาพที่มีอยู่ในอาหารหรือสภาพของอาหารที่มีโอกาสจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ความเสี่ยง (Risk): ความสัมพันธ์ของโอกาสที่จะเกิดผลร้ายต่อสุขภาพ และผลลัพธ์จากความรุนแรงของอันตรายในอาหารนั้น อุบัติการณ์ (Incident): เหตุการณ์แวดล้อมกับการบ่งชี้อันตรายซึ่งมีความเสี่ยงต่อสุขภาพ รวมถึง อุบัติการณ์ที่มีโอกาสเกิดอันตรายที่รุนแรงต่อประชาชนจากการบริโภค การระบุชี้ถึงอาหารที่มีการปนเปื้อนซึ่งก่อให้เกิดความเจ็บป่วยได้ การระบุชี้ถึงโรคภัยร้ายแรงต่อมนุษย์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับอาหารที่ปนเปื้อน การระบุชี้ถึงการปฏิบัติที่ไม่ถูกสุขลักษณะในธุรกิจอาหารในระดับที่จะ ก่อให้เกิดอันตรายทันทีต่อสุขภาพผู้บริโภค การระบุชี้ถึงการปฏิบัติที่ผิดปกติหรือผิดกฎหมายในธุรกิจอาหารหรือ เครือข่ายการกระจายอาหารซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพผู้บริโภค การปนเปื้อนทางเคมีหรือชีวภาพโดยความตั้งใจหรือเจตนาก่อการร้าย

คำจำกัดความ (ต่อ) Rapid Alert System for Food and Feed (RASFF): ระบบการแจ้งเตือนโดยอิเลคโทรนิกส์แก่กรรมาธิการยุโรปเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลของอันตรายที่พบในอาหารระหว่างประเทศสมาชิก เพื่อเตรียมความพร้อม (Alert notification) สิ่งที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพผู้บริโภคทั้งทางตรงและทางอ้อม การแจ้งเตือน (Notification) ข้อมูลที่ไม่เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพแต่ไม่เป็นไปตามกฎหมายหรือการพัฒนาด้านความปลอดภัยอาหาร เพื่อเป็นข้อมูล (Information notification) เพื่อเป็นข่าวสาร (News notification) เป็นข้อมูลด้านการวิจัยค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยอาหาร

Risk Communication คำจำกัดความ (ต่อ) การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis): กระบวนการเชื่อมโยงขององค์ประกอบ 3 ส่วน ดังนี้ Risk Management Revise/establish food standard Evaluation Legal action Risk Assessment Hazard Identification Hazard Characterization Exposure assessment Risk Characterization Risk Communication

คำจำกัดความ (ต่อ) หน่วยงานภาครัฐ (Official Agency): หน่วยงานภาครัฐที่ทำงานเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยด้านอาหารรวมถึงหน่วยงานที่ปฏิบัติงานภายใต้สัญญาการทำงานในนาม FSAI หน่วยงานสืบสวน (Investigation Agency): หน่วยงานภาครัฐของ FSAI ที่มีหน้าที่บ่งชี้อันตรายหรือเป็นผู้นำในการดำเนินการสืบสวนอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น ธุรกิจอาหาร (Food Business): การดำเนินการใดๆ ในภาครัฐหรือเอกชนที่มีกิจกรรมเกี่ยวข้องกับขั้นตอนใดๆ ของการผลิต แปรรูป หรือการกระจายอาหาร โดยมุ่งหวังกำไรหรือไม่ก็ตาม ผู้ประกอบกอบธุรกิจอาหาร (Food Business Operator): บุคคลธรรมดาหรือบุคคลตามกฎหมายที่รับผิดชอบงานเพื่อให้มั่นใจว่าธุรกิจอาหารในความดูแลเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดด้านการประกันคุณภาพอาหารของบริษัทผู้ผลิตภายใต้มาตรฐานที่ควบคุม

5. เอกสารที่เกี่ยวข้อง กฎระเบียบ (Legislation) เอกสารแนะนำ (http://www.fsai.ie/publications/index.asp) กฎระเบียบ (Legislation) Food Safety Authority of Ireland Act, 1998 Food hygiene Regulation, 1950-89 Regulation (EC) no. 178/2002 Council Directive 89/397/EEC of 14 June 1989 on the official control of foodstuffs Regulation (EC) no.882/2004 etc. เอกสารแนะนำ (Guidance Documents) FSAI Guidance Note 10 Product Recall and Traceability Food Agency Co-operation Council Food Incident Management Plan Codex Alimentarius CAC/GL 19 Exchange of Information in Food Control Emergency Situations etc.

ส่วนที่ 1: การจัดการอุบัติการณ์ และการแจ้งเตือนเร่งด่วนภายในประเทศ ส่วนประกอบใน COP no.5 ส่วนที่ 2: การจัดการด้านการประสานงานกับแต่ละประเทศ

ส่วนที่1: การจัดการอุบัติการณ์และการแจ้งเตือนเร่งด่วนภายในประเทศ 6. ความรับผิดชอบต่อการจัดการของอุบัติการณ์ 6.1 บทบาทหน้าที่ จุดติดต่อแรกในการแก้ปัญหาอุบัติการณ์ เป็นผู้นำในการสอบสวนและบ่งชี้อันตราย ประเมินความเสี่ยงและดำเนินการแก้ไขขั้นต้น สื่อสารกับหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทบทวนกิจกรรมต่างๆ บนพื้นฐานของข้อมูล หน่วยงานภาครัฐ

ผู้ประกอบธุรกิจอาหาร ความรับผิดชอบต่อการจัดการของอุบัติการณ์ (ต่อ) ให้การสนับสนุนด้านการใช้กฎหมาย เป็นหน่วยงานกลางในการรวบรวมและให้ข้อมูล เป็นแหล่งข้อมูลและศูนย์ติดต่อกับผู้เชี่ยวชาญ แจ้งและปรับปรุงข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐให้ทันสมัย ออกประกาศเตรียมความพร้อมและรับประกาศจาก RASFF FSAI ดำเนินการตามมาตรการที่จำเป็นต่อการปกป้องสุขภาพ ทบสอบและรักษาระบบการเรียกคืนและการสอบกลับที่ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จัดทำเอกสารกระบวนการทั้งหมดที่จำเป็น ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานในการแจ้งข้อมูล ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย ผู้ประกอบธุรกิจอาหาร

6.2 การวางแผนและการประสานงาน ความรับผิดชอบต่อการจัดการของอุบัติการณ์ (ต่อ) 6.2 การวางแผนและการประสานงาน ลักษณะของอันตราย (Hazard Characterization) วิธีการกระจายอาหาร (Food Distribution) การตัดสินปัญหา ลักษณะของอันตราย 1. สูง (High) - มีผลเสียต่อสุขภาพร้ายแรงและกะทันหัน - เช่น E.coli 0157 H7, สารเคมีมีพิษร้ายแรง 2. ปานกลาง (Medium) - มีผลเสียต่อสุขภาพไม่ค่อยรุนแรงหรือไม่มีการรับในระยะยาวอย่างต่อเนื่อง - เช่น สารเคมีปนเปื้อน, PAHs 3. ต่ำ (Low) กระทบต่อสุขภาพน้อย หรือไม่เคยพบ การปนเปื้อนของวัสดุอื่นๆ วิธีการกระจายอาหาร 1.ในวงจำกัด (Limited Distribution) ภายในท้องถิ่นที่ควบคุมโดยหน่วยงานรัฐหน่วยเดียว เช่น ร้านจำหน่ายเบเกอรี่ ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของกรรมการสารธารณสุขส่วนภูมิภาคเดียว 2. ในวงกว้าง (Wide Distribution) - มีการกระจายไปภายใต้การควบคุมของหน่วยงานรัฐมากกว่า 1 หน่วยงาน หรือส่งออกไปต่างรัฐ

การดำเนินการ การกระจาย ลักษณะอันตราย การจัดการ ความรับผิดชอบต่อการจัดการของอุบัติการณ์ (ต่อ) หน่วยงานภาครัฐ: รับเรื่องและประสานหน่วยงานอื่นๆ หน่วยงานสืบสวน: สืบสวนและประสานระดับท้องถิ่น FSAI: รับทราบเรื่อง และช่วยสอบสวนในกรณีจำเป็น การดำเนินการ การกระจาย ลักษณะอันตราย การจัดการ ในวงจำกัด ต่ำ หน่วยงานสืบสวน ปานกลาง หน่วยงานสืบสวน ร่วมกับ FSAI ตามความจำเป็น สูง หน่วยงานสืบสวน ร่วมกับ FSAI ในวงกว้าง

แจ้งประสานหน่วยงานอื่นๆ เพื่อทราบและดำเนินการ 7. การแจ้งเตือน (Notifications) ภายในเวลาทำงาน โทรศัพท์ E-mail พร้อมแจ้งรายละเอียดตามแบบฟอร์มที่กำหนด นอกเวลาทำงาน โทรศัพท์เบอร์กรณีฉุกเฉิน FSAI แจ้งประสานหน่วยงานอื่นๆ เพื่อทราบและดำเนินการ

8. การปนเปื้อนในอาหารโดยเจตนาหรือมุ่งปองร้าย กำหนดบทลงโทษทางอาญาไว้ใน The Garda Siochana National Bureau of Criminal Investigation (NBCI) NBCI สืบสวนหาสาเหตุ และลงโทษตามกฎหมาย FSAI

9. การติดต่อสื่อสาร 9.1 ระบบ RASFF ระบบการแจ้งเตือนเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับอาหารและอาหารสัตว์ของสหภาพยุโรป ผู้จัดการระบบคือ คณะกรรมาธิการยุโรป แจ้งเตือนประสานหน่วยงานประสานหน่วยเดียว (Single Liaison body) ของ แต่ละประเทศสมาชิก เช่น FSAI เป็นหน่วยประสานของประเทศไอร์แลนด์ แจ้งข้อมูลที่มีเพื่อใช้ในการประเมินอุบัติการณ์นั้น โดยประสานข้อมูลกับผู้ประกอบธุรกิจอาหารเพื่อเพิ่มความชัดเจน การแจ้งเตือนการปฏิเสธอาหาร (Rejection) ณ ด่านตรวจสอบ

หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง การติดต่อสื่อสาร(ต่อ) 9.2 Rapid Alert การแจ้งเตือนเพื่อเตรียมความพร้อมเร่งด่วน FSAI ข้อมูลอันตรายจากการบริโภคอาหาร ประกาศแจ้งเตือนจาก RASFF ข้อมูลจากผู้ประกอบธุรกิจภายในประเทศ ข้อมูลจากห้องปฏิบัติการ ข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ แจ้งเตือนเพื่อเตรียมความพร้อมด้านอาหารระดับชาติ (A national Food Alert) โทรสาร, โทรศัพท์ อีเมล์ SMS เวปไซด์ของ FSAI เพื่อการดำเนินการ เพื่อเป็นข้อมูล หน่วยงานด้านสาธารณสุข หน่วยงานอื่นๆ ตัวแทนธุรกิจอาหาร หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง

ผู้จัดการอุบัติการณ์ การติดต่อสื่อสาร(ต่อ) 9.3 Media Management การจัดการด้านสื่อ การดำเนินการโดยหน่วยงานภาครัฐ ผู้จัดการอุบัติการณ์ ผู้แถลงการณ์ หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานสืบสวน หน่วยงานภาครัฐและ FSAI หน่วยงานสืบสวน หรือ FSAI หน่วยงานFSAI FSAI สำเนาถึง FSAI สำเนาถึง FSAI การดำเนินการโดยผู้ประกอบธุรกิจอาหาร การเรียกคืนสินค้าจากแหล่งจำหน่าย/ระหว่างการกระจายสินค้า สำเนาถึง FSAI

10. การปิดอุบัติการณ์ที่เกิด การสืบสวนอุบัติการณ์ครบสมบูรณ์ มีการดำเนินการเพื่อสร้างความมั่นใจ ในการเรียกคืนสินค้าที่พบปัญหา ปิดอุบัติการณ์ (Incident Closure) แจ้งทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

11. การจัดการด้านการประสานงานจุดเดียวและกับประเทศที่สาม ส่วนที่ 2: การจัดการด้านการประสานงานกับแต่ละประเทศ 11. การจัดการด้านการประสานงานจุดเดียวและกับประเทศที่สาม กฎระเบียบของกรรมาธิการยุโรป ปี 1998 ข้อ 23 – 25 กำหนดให้แต่ละประเทศสมาชิกแต่งตั้งหน่วยงานที่ทำหน้าที่ประสานงานหน่วยเดียว (A Single Liaison body) เพื่อเป็นหน่วยติดต่อและประสานงานด้านการสื่อสาร โดยเฉพาะการส่ง – รับการร้องขอระหว่างประเทศนั้นๆ กับประเทศสมาชิก เช่น หน่วยงาน Food Safety Authority of Ireland (FSAI) เป็นหน่วยงานประสานของประเทศ ไอร์แลนด์ การติดต่อระหว่างหน่วยงานภาครัฐของประเทศนั้นกับประเทศอื่นๆ ควรแจ้งหน่วยงานประสานหน่วยเดียว ให้ทราบด้วย

การจัดการด้านการประสานงานจุดเดียวและกับประเทศที่สาม(ต่อ) 11.1 สาระที่อ้างถึงประเทศสมาชิกอื่น ข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ผลการวิเคราะห์ที่ไม่ปลอดภัย ประเทศไอร์แลนด์ ประเทศสมาชิกอื่น ผลิตภัณฑ์อาหาร FSAI หน่วยงานประสาน ของประเทศนั้น ติดต่อสื่อสาร ประสานงาน และดำเนินการ

การจัดการด้านการประสานงานจุดเดียวและกับประเทศที่สาม(ต่อ) 11.2 การแจ้งเรื่องจากสมาชิกอื่น ข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ผลการวิเคราะห์ที่ไม่ปลอดภัย ประเทศไอร์แลนด์ ประเทศสมาชิกอื่น ผลิตภัณฑ์อาหาร FSAI หน่วยงานประสาน ของประเทศนั้น ติดต่อสื่อสาร ประสานงาน และดำเนินการ

การจัดการด้านการประสานงานจุดเดียวและกับประเทศที่สาม(ต่อ) 11.3 การสืบสวนของประเทศที่สาม ติดต่อและดำเนินการโดยตรงกับหน่วยงานของประเทศที่สาม FSAI ให้ความช่วยเหลือเพื่อสืบสวน ตัวอย่างแบบฟอร์มรายงานอุบัติการณ์ของ FSAI ตัวอย่างการแจ้งประกาศเพื่อเตรียมความพร้อม

THANK YOU FOR YOUR ATTENTION