สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต กรมควบคุมโรคมี SRRT การจัดทีมระดับเขต นโยบาย – การติดตามสถานการณ์ – สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในคน – จัดทีม.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี 24 กันยายน 2555
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (ปี )
ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
BRAND “ กรมควบคุมโรค ” สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำสัญญนิยม 19 เมษายน 2550 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมกรมควบคุมโรค 15 พฤษภาคม 2550.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การติดตามประเมินผล ปี 2552
ไข้เลือดออก.
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา ตามที่กรมควบคุมโรคได้รับรายงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลยและสำนักระบาดวิทยาเรื่องผู้ป่วยโรคคอตีบเมื่อเดือนมิถุนายน2555 กรมควบคุมโรคโดย สำนักระบาดวิทยาและสำนักโรคติดต่อทั่วไป ร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่ประกอบด้วย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น โดยการสนับสนุนของผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต 10 ได้ดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง และดำเนินการรายงานผู้บริหารและแจ้งเตือนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศตามหนังสือกระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ 0422.3/ว 503 ลงวันที่ 30 กรกฎาคม 2555 และหนังสือกระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ 0422.1/1388 ลงวันที่ 10 สิงหาคม 2555

สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา มาตรการที่ได้แนะนำ และหน่วยงานพื้นที่ดำเนินการไปแล้ว ประกอบด้วย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ดำเนินการศูนย์ปฏิบัติการติดตามแก้ไขปัญหา เพื่อติดตามข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ และสั่งการหน่วยงานในอำเภอ จังหวัด และทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ดำเนินการป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ เฝ้าระวังเชิงรุกผู้ป่วยที่มีอาการสงสัยโรคคอตีบ ตามนิยามของสำนักระบาดวิทยาและ เพิ่มศักยภาพการตรวจหาเชื้อโรคทางห้องปฏิบัติการในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค

สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา การดูแลรักษาตามแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคคอตีบอย่างเหมาะสมทุกโรงพยาบาล และ ให้มีเวชภัณฑ์ที่จำเป็นอย่างเพียงพอ การค้นหาผู้ป่วย ผู้สัมผัสโรค เพื่อดำเนินการให้ยาปฏิชีวนะในการควบคุมโรค และเฝ้าระวัง จนกว่าจะพ้นระยะฟักตัวของโรค ดำเนินการสำรวจความครอบคลุมวัคซีนในเด็ก และฉีดวัคซีนเสริมในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีน รวมถึงผู้ใหญ่ที่อาจมีความเสี่ยงต่อการป่วยรุนแรง เมื่อติดเชื้อเพิ่มเติม การสื่อสารความเสี่ยงถึงประชาชน ในเรื่องการป้องกันตนเอง รวมถึงอาการป่วยที่ต้องพบแพทย์ ผ่านช่องทางสื่อสารต่างๆ รวมถึง อสม.

สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา เพื่อมิให้โรคขยายตัวและหยุดการระบาดของโรคโดยเร็วเห็นควรให้มีการดำเนินการควบคุมโรคอย่างบูรณาการมีการสั่งการและติดตามที่เป็นเอกภาพทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

การสนับสนุนของกระทรวงสาธารณสุข ด้านวิชาการแนวทางปฏิบัติต่างๆ พัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนควบคุมโรคและร่วมปฏิบัติการในพื้นที่ วัคซีน dT และ DAT โดยดำเนินการร่วมกับ สปสช. ยาปฏิชีวนะที่จำเป็นในกรณีที่เกินกำลังของจังหวัดในการจัดหา สื่อต้นแบบและสื่อในการประชาสัมพันธ์ วัสดุทางห้องปฏิบัติการ (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์) งบประมาณในการบริหารจัดการเพื่อดำเนินการในพื้นที่(ร่วมกับสปสช.)