กรมควบคุมโรค 8 มีนาคม 2554.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
Advertisements

สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
การบริหารกลุ่มและทีม
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
ประเด็นนำเสนอ รายละเอียดพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะของบุคลากรกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2557 (ที่ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของหน่วยงานในการประชุมเมื่อวันที่
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การประเมินสมรรถนะครู
รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับ เงินประจำตำแหน่ง
สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 3
Workshop:สมรรถนะกลุ่มพัฒนาบุคคลากร
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
Human resource development
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนแม่บทการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
การจัดคนลงตำแหน่งตาม พรบ.ใหม่
(ก.พ. ที่ นร /ว 8 ลงวันที่ 28 เมษายน 2554)
การระบุตำแหน่ง ตาม พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
1. ข้อมูลพื้นฐานของ 1) วิสัยทัศน์ 2) พันธกิจ 3) อำนาจหน้าที่
ระบบการกำหนดตำแหน่ง:เปรียบเทียบโครงสร้างตำแหน่ง
พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
คุณอยู่ตรงไหน? และจะก้าวหน้าอย่างไร? (วันนี้ขอเฉลยเฉพาะความก้าวหน้า
ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข อง โดย … นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและ ยุทธศาสตร์ 15 มีนาคม 2549.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
การปฐมนิเทศข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์
การจัดตำแหน่งประเภท เจ้าหน้าที่บริหาร......
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
การบริหารทรัพยากรบุคคล
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
สมรรถนะการทำงาน ดร. จักรพงศ์ สุวรรณรัศมี.
คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
แผนพัฒนาบุคลากร สคร.6 ปี 2554
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะ ของ บุคลากรสาธารณสุข
บทบาทหัวหน้ากลุ่มงาน/ฝ่าย
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ปัญหาการแต่งตั้งข้าราชการ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กับการบรรจุแต่งตั้ง.
กฎหมายข้าราชการพลเรือน ผู้อำนวยการสำนักกฎหมาย สำนักงาน ก.พ.
Career Path บุคลากรสายงานกิจการนิสิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรมควบคุมโรค 8 มีนาคม 2554

กรมควบคุมโรค กำหนดให้ทุกหน่วยงานในสังกัด ดำเนินการประเมินสมรรถนะของบุคลากร ซึ่งประกอบด้วย สมรรถนะหลัก สมรรถนะทางการบริหาร (ผู้อำนวยการขึ้นไป) สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ

การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) บริการที่ดี (Service Mind) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Mastery/Expertise) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) การมีน้ำใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี่เป็นน้อง (Relationship) การทำงานเป็นทีม (Teamwork)

สภาวะผู้นำ (Leadership) วิสัยทัศน์ (Visioning) การวางกลยุทธ์ภาครัฐ (Strategic Orientation) ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยน (Change Leadership) การควบคุมตนเอง (Self Control) การสอนงานและการมอบหมายงาน (Coaching and Empowering Others)

ประกอบด้วย 16 สมรรถนะ กำหนดอย่างน้อย 3 สมรรถนะ ตามตำแหน่งในสายงาน การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) การมองภาพองค์รวม (Conceptual Thinking) การสืบเสาะหาข้อมูล (Caring Other) การตรวจสอบความถูกต้องของกระบวนงาน (Holding People Accountable) ศิลปะการสื่อสารจูงใจ (Information Seeking) ฯลฯ

กำหนดให้บุคลากรของกรมควบคุมโรคทุกคน ดำเนินการประเมิน 6 สมรรถนะหลัก (และ 6 สมรรถนะทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร) กำหนดให้บุคลากรของกรมควบคุมโรค ประเมินสมรรถนะเฉพาะฯ ในปีงบประมาณ 2554 จำนวน 3 สมรรถนะ ตามที่กำหนดในสาย งานต่าง ๆ ดังนี้

ประเมิน 6 สมรรถนะหลัก 6 สมรรถนะทางการบริหาร และ 3 สมรรถนะเฉพาะฯ ประกอบด้วย การคิดวิเคราะห์ การสั่งการตามอำนาจหน้าที่ ความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ

การคิดวิเคราะห์ การใส่ใจและพัฒนาผู้อื่น การสืบเสาะหาข้อมูล

การคิดวิเคราะห์ การมองภาพองค์รวม การตรวจสอบความถูกต้อง ตามกระบวนงาน

การคิดวิเคราะห์ การตรวจสอบความถูกต้องตาม กระบวนงาน ความยืดหยุ่นผ่อนปรน

ความเข้าในองค์กรและระบบราชการ การตรวจสอบความถูกต้องตามกระบวนงาน ความผูกพันที่มีต่อส่วนราชการ

สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับข้าราชการกรมควบคุมโรค ตำแหน่งประเภทบริหาร สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับข้าราชการกรมควบคุมโรค ระดับต้น อธิบดี/รองฯ L5 ระดับสูง ปลัดกระทรวง

ตำแหน่งประเภทอำนวยการ สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับข้าราชการกรมควบคุมโรค ระดับต้น ผอ. สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ L3 ระดับสูง L4

ตำแหน่งประเภทวิชาการ สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับข้าราชการกรมควบคุมโรค ระดับปฏิบัติการ L1 ระดับชำนาญการ L2 ระดับชำนาญการพิเศษ L3 ระดับเชี่ยวชาญ L4 ระดับทรงคุณวุฒิ L5

สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับข้าราชการกรมควบคุมโรค ตำแหน่งประเภททั่วไป สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับข้าราชการกรมควบคุมโรค ระดับปฏิบัติงาน L1 ระดับชำนาญงาน ระดับอาวุโส L2 ระดับทักษะพิเศษ