การตั้งเรื่องกล่าวหา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการบันทึกข้อความ
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เรื่อง ระเบียบแก้ไขวันเดือนปีเกิด
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ส่วนอำนวยความเป็นธรรม สำนักการสอบสวนและนิติการ
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
ขัดคำสั่งผู้บังคับบัญชา
อุทธรณ์.
การดำเนินการทางวินัย ข้าราชการ
แนวทางการลงโทษวินัย ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
หลักเกณฑ์การนำพยานหลักฐานเข้าสู่สำนวนคดี
วิชาว่าความและ การถามพยาน
ขั้นตอนการดำเนินงานเอกสาร
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
ปัญหาเกี่ยวกับการสอบข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
การกำหนดประเด็นสอบสวน
บรรยายโดย ประวีณ ณ นคร ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ.
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การตรวจการสหกรณ์ ไพฑูรย์ ชนะชู นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ
ธุรกิจ จดหมาย.
การจัดกระทำข้อมูล.
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ ๒
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
การแต่งตั้งข้าราชการ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
เทคนิคการสืบสวนและสอบสวน
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย
1.อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ. ต. ท
ของข้าราชการตำรวจ บก.อก.บช.ศ.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 คำสั่งกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ 243/2556 เรื่อง แนวทางการ ปฏิบัติในการพิจารณาคำขอรวมทั้ง เอกสารที่เกี่ยวข้องตาม.
ระเบียบคณะกรรมการวัตถุอันตรายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเปรียบเทียบปรับตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
มีคำสั่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนหรือให้สืบสวน
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
กลุ่มที่ 3 แนวทางในการบูรณาการ การปราบปรามตามกฎหมายฟอกเงิน
มาตรการการป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
การให้ข้อเท็จจริงในคดีปกครอง
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การรับฟังพยานหลักฐาน
วินัยและสิทธิประโยชน์ของ พนักงานราชการ
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
หลักการและวิธีการ ทำรายงานการสอบสวน
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
การเขียนเชิงกิจธุระ.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
หลักละทฤษฎีกฎหมายอาญา เรื่อง เงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสัย โดย
ความหมายของการวิจารณ์
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ
หลักการเขียนโครงการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตั้งเรื่องกล่าวหา และการกำหนดประเด็น

การดำเนินการทางวินัย การตั้งเรื่องกล่าวหา ( การตั้งคณะกรรมการสอบสวน ) การสอบสวน การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ การลงโทษ พักราชการ ให้ออกฯ ไว้ก่อน

การตั้งเรื่องกล่าวหา หมายถึง การตั้งเรื่องดำเนินการทางวินัยแก่ข้าราชการผู้ถูกกล่าวหา โดยการแจ้ง ให้ผู้นั้นทราบว่าตนได้ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยในเรื่องใด 3

ความสำคัญ ของการตั้งเรื่องกล่าวหา เพื่อผู้ถูกกล่าวหา จะได้รู้ตัว และสามารถ ชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา เพื่อเป็นหลักฐานแสดงว่าผู้บังคับบัญชาได้ดำเนินการทางวินัย 4

องค์ประกอบของคำสั่งฯ ชื่อและตำแหน่งของผู้ถูกกล่าวหา เรื่องที่กล่าวหา ชื่อและตำแหน่งของคณะกรรมการสอบสวน ทำตามแบบ สว.1

เรื่องที่กล่าวหา หมายถึง เรื่องราว หรือการกระทำหรือพฤติการณ์แห่งการกระทำที่กล่าวอ้างว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดวินัย 6

ข้อกล่าวหา หมายถึง รายละเอียดแห่งการกระทำ หรือพฤติการณ์แห่งการกระทำที่กล่าวอ้างว่า ผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดวินัย ซึ่งต้องอยู่ในกรอบของเรื่องที่กล่าวหา โดยอธิบายเรื่องที่กล่าวหาให้ชัดเจนขึ้นว่าผู้ถูกกล่าวหาทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทำอย่างไร เพื่ออะไร 7

แนวทางการตั้งเรื่องกล่าวหา 1. ควรตั้งให้กว้างไว้ เพียงเพื่อให้รู้ว่าเขาทำ อะไรที่เป็นความผิด 2. ไม่นำฐานความผิด / มาตราความผิด ไประบุเป็นเรื่องกล่าวหา 8

การกำหนดประเด็น

ประเด็น คือ จุดสำคัญ ที่จะต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัย เพราะเป็นจุดที่ ยังโต้เถียงกันอยู่ หรือยังไม่ได้ความกระจ่างชัด 10

จุดพิสูจน์ หรือ จุดวินิจฉัย เรียก จุดใดที่สองฝ่ายรับกัน เรียก จุดพิสูจน์ หรือ จุดวินิจฉัย เรียก ประเด็น จุดใดที่สองฝ่ายรับกัน เรียก ข้อเท็จจริง 11

ข้อสังเกต ประเด็นเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาตามคำรับ / คำปฏิเสธ / ตามข้อต่อสู้ / ตามข้อมูลที่เพิ่มขึ้น 12

ประเภทของประเด็น ประเด็นการสอบสวน ประเด็นพิสูจน์/วินิจฉัย 13

1. ประเด็นการสอบสวน เป็นการวางแนวทางในการสอบสวนเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงและพยานหลักฐาน ที่เกี่ยวข้อง ทำให้การสอบสวนดำเนินไปสู่จุดมุ่งหมายอย่างมีทิศทางถูกต้อง และรวดเร็ว 14

การวางแผนการสอบสวน เป็นการวางแนวทางการสอบสวน เพื่อให้ทราบว่า การวางแผนการสอบสวน เป็นการวางแนวทางการสอบสวน เพื่อให้ทราบว่า - จะสอบสวนเรื่องอะไร - จะสอบพยานคนใดบ้าง - จะรวบรวมพยานอย่างไร 15

ข้อควรคำนึง. 1. เรื่องนี้เป็นเรื่องอะไร. 2 ข้อควรคำนึง 1. เรื่องนี้เป็นเรื่องอะไร 2. มีองค์ประกอบความผิดอย่างไร 3. ถ้ามีข้อเท็จจริงเบื้องต้นให้ดูว่า ผู้ถูกกล่าวหาให้การรับ / ปฏิเสธ อย่างไร 16

แนวทางการกำหนดประเด็นการสอบสวน ศึกษาจาก 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน 2. เอกสารหลักฐานและข้อมูลเบื้องต้นที่มีอยู่ 3. คำชี้แจงเบื้องต้นของผู้ถูกกล่าวหา 4. บทกฎหมายที่ว่าด้วยวินัยในส่วนที่เกี่ยวกับ ข้อกล่าวหา 17

2. ประเด็นพิสูจน์/วินิจฉัย 2. ประเด็นพิสูจน์/วินิจฉัย หลังจากได้ข้อเท็จจริงและพยาน หลักฐานแล้ว ก็จะนำมาสู่การวิเคราะห์ว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทำผิดวินัยตาม ข้อกล่าวหาในกรณีใด อย่างไรหรือไม่ 18

จุดสำคัญที่จะต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัยในการดำเนินการทางวินัย มี 3 ด้าน จุดสำคัญที่จะต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัยในการดำเนินการทางวินัย มี 3 ด้าน 1. ประเด็นเกี่ยวกับการกระทำในเรื่องที่กล่าวหา จะต้องพิสูจน์ว่าผู้ถูกกล่าวหา - ทำอะไร - ทำที่ไหน - ทำเมื่อไร - ทำอย่างไร - เพราะเหตุใด เพื่อใช้ในการวินิจฉัยว่าได้กระทำผิดวินัยหรือไม่ 19

2. ประเด็นเกี่ยวกับกรณีความผิด 2. ประเด็นเกี่ยวกับกรณีความผิด จะต้องพิสูจน์ว่า ผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดในกรณีใด เพื่อใช้ในการวินิจฉัยปรับบทลงโทษว่าได้กระทำผิดตามมาตราใด 20

3. ประเด็นเกี่ยวกับความร้ายแรงแห่งกรณี 3. ประเด็นเกี่ยวกับความร้ายแรงแห่งกรณี จะต้องพิสูจน์ว่า การกระทำของ ผู้ถูกกล่าวหานั้นมีพฤติการณ์ร้ายแรงเพียงใด หรือเสียหายแก่ทางราชการร้ายแรงเพียงใด เพื่อใช้ในการวินิจฉัยกำหนดระดับโทษหนัก หรือเบาที่จะลงแก่ผู้ถูกกล่าวหา 21

ประโยชน์ของการกำหนดประเด็น ประโยชน์ของการกำหนดประเด็น เพื่อเป็นเครื่องนำทางหรือช่วยให้การสอบสวนเป็นไปโดย 1. รอบคอบ รัดกุม ได้ความจริง 2. ให้ความเป็นธรรม 3. รวดเร็ว 4. วินิจฉัยฐานความผิดได้ถูกต้อง 22

สำนักมาตรฐานวินัย สำนักงาน ก.พ. โทร . 0 2547 1631 โทรสาร 0 2547 1630