การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
Advertisements

การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
โครงงานเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
กระบวนการวิจัย(Research Process)
Contents ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
Object-Oriented Analysis and Design
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
PDCA คืออะไร P D C A.
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
Analyzing The Business Case
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
บทที่ 3 Planning.
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
การเพิ่มผลผลิต Productivity
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
การวิเคราะห์และออกแบบ ระบบสารสนเทศ
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การปลูกพืชผักสวนครัว
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
วิธีการคิดวิเคราะห์.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ADDIE Model.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering) บทที่ 4 การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering)

การวิเคราะห์ (Analysis Phase) ระยะที่ 2: การวิเคราะห์ (Analysis Phase) ต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า... ใคร ? คือผู้ใช้ระบบ มีอะไรบ้าง ? ที่ระบบต้องดำเนินการ

ระยะที่ 2: การวิเคราะห์ (ต่อ) วัตถุประสงค์หลักของระยะการ วิเคราะห์ก็คือ จะต้องศึกษาและทำความ เข้าใจในความต้องการต่างๆ ที่ได้ รวบรวมมา

ระยะที่ 2: การวิเคราะห์ (ต่อ) P. 130 กิจกรรมสำคัญของระยะนี้คือ 1. ทำความเข้าใจกับระบบงานเดิม 2. กำหนดสิ่งที่ต้องการปรับปรุง/เพิ่มเติม 3. พัฒนาแนวความคิดของระบบใหม่

การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering) SA. มีความจำเป็นต้องรู้ถึงสิ่งเหล่านี้ Who? When? Where? Why? How? What?

การรวบรวมความต้องการ (ต่อ) ยูสเซอร์ เป็นบุคคลที่ SA. จะต้องเข้าไป ขอข้อมูลเพื่อทราบถึงปัญหา เพื่อนำมา ประกอบการวิเคราะห์ระบบ

การรวบรวมความต้องการ (ต่อ) ดังนั้น จึงต้องทำความเข้าใจกับยูสเซอร์ เพื่อให้ทราบถึงเป้าหมายหลัก ที่ต้องการ ทราบถึงปัญหา เพื่อนำไปพัฒนาระบบให้ดี ยิ่งขึ้นกว่าเดิม

การรวบรวมความต้องการ (ต่อ) การได้รับความร่วมมือที่ดีจากยูสเซอร์ ย่อมส่งผลดี เนื่องจากยูสเซอร์เป็นผู้ที่ปฏิบัติ กับระบบโดยตรง ทำให้ทราบปัญหาต่าง ๆ ได้ดี

คุณสมบัติของยูสเซอร์ที่ดี 1. สามารถอธิบายขั้นตอนการทำงาน ของระบบปัจจุบันที่ดำเนินงานอยู่ได้ 2. สามารถชี้แจงปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ในระบบได้

คุณสมบัติของยูสเซอร์ที่ดี (ต่อ) 3. สามารถระบุความต้องในระบบใหม่ได้ 4. ควรจัดเตรียมเอกสาร หรือรายงานที่ เกี่ยวข้องให้แก่นักวิเคราะห์ระบบ

คุณสมบัติของยูสเซอร์ที่ดี (ต่อ) 5. ควรให้ความร่วมมือกับ SA. รวมถึงมี ความปรารถนาดีต่อการปรับปรุงระบบ งานเดิมที่ดำเนินการอยู่ให้มีทิศทางที่ดี ยิ่งขึ้นกว่าเดิม โดยปราศจากอคติ

คุณสมบัติของยูสเซอร์ที่ดี (ต่อ) 6. ควรมีส่วนร่วมต่อโครงการพัฒนา ระบบใหม่ รวมถึงสามารถเสนอแนะ แนวทางการแก้ไขปัญหาแก่ SA. ได้

บุคคลที่มีส่วนร่วมต่อโครงการพัฒนาระบบใหม่ (Stakeholder)

ชนิดของความต้องการ 1. Functional Requirements P. 134 1. Functional Requirements เกี่ยวข้องกับขั้นตอนการทำงานที่ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงาน

ชนิดของความต้องการ (ต่อ) 2. Non-Functional Requirements เกี่ยวข้องกับการกำหนดคุณภาพการทำงานของ S/W เช่น ระบบสามารถรองรับการใช้งานบนเครือข่ายสูงสุดกี่ยูสเซอร์ /เวลาตอบสนองการใช้งาน เป็นต้น

เทคนิคการรวบรวมความต้องการ 1. การรวบรวมเอกสาร 2. การสัมภาษณ์ และสนทนากับยูสเซอร์ 3. การสังเกตุการณ์จากกระบวนการ เดินเอกสารในธุรกิจ (Workflow p.150)

เทคนิคการรวบรวมความต้องการ (ต่อ) 4. การแจกแบบสอบถาม 5. การวางแผนความต้องการร่วมกัน (JAD)

SA. จะนำความต้องการ(Requirements) ของยูสเซอร์มาวิเคราะห์ เพื่อสรุปเป็น ข้อกำหนดลงในเอกสารที่เรียกว่า Requirements Specification

ตัวอย่าง User Requirements หน้า 137 ตัวอย่าง Requirements Specification หน้า 139

แบบฟอร์มมาตรฐานของ Requirements Specification

ความสำคัญของระยะการวิเคราะห์ คือ ต้องวิเคราะห์ถึงความต้องการที่ แท้จริง เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหา ได้ตรงจุด

สรุปกิจกรรมของระยะการวิเคราะห์ 1. วิเคราะห์ระบบงานปัจจุบัน 2. รวบรวมความต้องการและนำมา วิเคราะห์สรุปเป็นข้อกำหนดที่ชัดเจน 3. นำข้อกำหนดมาพัฒนาเป็นความ ต้องการของระบบใหม่

สรุปกิจกรรมของระยะการวิเคราะห์ (ต่อ) 4. สร้างแบบจำลองกระบวนการ (บทที่ 5) (Data Flow Diagram: DFD) 5. สร้างแบบจำลองข้อมูล (บทที่ 6) (Entity Relationship Diagram: ERD)