การประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
บทบาทและหน้าที่ของนักคอมพิวเตอร์
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
สมรรถนะและการประเมินสมรรถนะ สำหรับการบริหารผลการปฏิบัติราชการ
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
การบริหารทรัพยากรบุคคล
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล ตามตัวชี้วัดที่ 12.3 ระดับความสำเร็จการประเมินผลรายบุคคล เอกสารสงวนสิทธิ์ใช้สำหรับกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเท่านั้น

การประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล ตามตัวชี้วัดที่ 12.3 ระดับความสำเร็จการประเมินผลรายบุคคล เหตุผล เป็นการดำเนินการตามผลการตรวจประเมินการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน หมวดที่ 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ข้อที่ 4 ในประเด็นส่วนราชการมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร และมีการแจ้งผลเพื่อให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุงการทำงานให้แก่บุคลากรรายบุคคล ที่พบว่า เป็นประเด็นที่มุ่งเน้นควรปรับปรุงของการบริหารจัดการด้านทรัพยากรบุคคล กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ประกอบกับกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2551 ได้ระบุประเด็นในการตรวจประเมินผลการปฏิบัติงานจากการดำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายขององค์กรสู่ระดับบุคคล เพื่อให้ข้าราชการระดับ 6 ขึ้นไป สามารถจัดทำตัวชี้วัดระดับบุคคลของตนเองที่เป็นไปในทิศทางเดียวกับเป้าหมายของกรม เพื่อให้ทราบผลการประเมินและมีการพัฒนาผลการปฏิบัติงาน เพื่อความเป็นธรรม ขวัญกำลังใจและแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน เอกสารสงวนสิทธิ์ใช้สำหรับกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเท่านั้น

หลักเกณฑ์แนวทางในการนำผลการประเมิน มาใช้ในการจัดสรรเงินรางวัลประจำปี 2551 ตามที่กรมได้ให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2551 “ ข้าราชการตั้งแต่ระดับ 8ว (ยกเว้นผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการ) ลงมาถึงระดับ 6 ให้กำหนดการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อนำมาจัดสรรเงินรางวัลระดับบุคคล โดยใช้ค่าคะแนนจากแบบรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี ตามตัวชี้วัดหน่วยงานภายใน ตัวชี้วัดที่ 12-3 : ระดับความสำเร็จของการประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล ปีงบประมาณ พ.ศ.2551 เป็นคะแนนสำหรับคำนวณเงินรางวัลสำหรับความโดดเด่นในการทำงานของบุคคล ซึ่งสอดคล้องกับเงินรางวัลที่หน่วยงานได้รับจากการจัดสรรจากความโดดเด่นของผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองฯ...” เอกสารสงวนสิทธิ์ใช้สำหรับกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเท่านั้น

คำอธิบายแบบรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 1. ตัวชี้วัดและเป้าหมายการปฏิบัติงาน หมายถึง ส่วนที่ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินร่วมกันพิจารณากำหนดตัวชี้วัด เป้าหมายการปฏิบัติงานและค่าคะแนน ตามลักษณะงานที่ผู้ประเมินมอบหมายแก่ผู้รับการประเมินเป็นรายบุคคล โดยกำหนดประเด็นการประเมิน 2 ส่วน ดังนี้ 1.1 การประเมินผลการปฏิบัติงาน (90 คะแนน) แบ่งลักษณะงานออกเป็น 3 งานดังนี้ 1.1 งานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการระดับหน่วยงานภายใน (ตามที่แต่ละหน่วยงานได้ลงนามคำรับรอง) 1.2 งานปกติ 1.3 งานที่ได้รับมอบหมายนอกเหนือจากงานปกติ 1.2 การประเมินสมรรถนะ (10 คะแนน) ประเมินตามสมรรถนะหลักตามที่สำนักงาน ก.พ. กำหนด หมายเหตุ สำหรับข้าราชการระดับ 1-5 และลูกจ้างประจำ ให้แต่ละหน่วยงานสามารถนำรูปแบบนี้ไปใช้ในการประเมินได้ตามความเหมาะสม เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมการประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคลกับเจ้าหน้าที่กรมพัฒนาฝีมือแรงงานทุกระดับในปีงบประมาณ 2552 เอกสารสงวนสิทธิ์ใช้สำหรับกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเท่านั้น

คำอธิบายแบบรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2. ผลการปฏิบัติงาน หมายถึง ส่วนที่ผู้รับการประเมินบันทึกรายงานผลการปฏิบัติงานจริงของตนเอง 3. ผลการประเมิน หมายถึง ส่วนที่ผู้ประเมินทำการประเมินผลจากการปฏิบัติงานเทียบกับเป้าหมายการปฏิบัติงาน 4. คะแนนประเมิน หมายถึง (คะแนนเต็ม x ผลการประเมิน)/5 5. ระดับคะแนนประเมิน หมายถึง (คะแนนประเมินรวมทั้งหมด x 5)/100 เอกสารสงวนสิทธิ์ใช้สำหรับกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเท่านั้น

ระดับสมรรถนะหลักตามที่สำนักงาน ก.พ.กำหนด สั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน มุ่งผล สัมฤทธิ์ บริการที่ดี สั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน จริยธรรม ความร่วมแรงร่วมใจ 3-5 1 2 6-7 3 8 4 เอกสารสงวนสิทธิ์ใช้สำหรับกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเท่านั้น

ระดับสมรรถนะหลักตามที่สำนักงาน ก.พ.กำหนด การมุ่งผลสัมฤทธิ์ หมายถึง ตรงต่อเวลา รับผิดชอบละเอียดรอบคอบ ขยันตั้งใจทำงาน บริการที่ดี หมายถึง เต็มใจบริการ ให้บริการที่ผู้รับบริการต้องการได้ การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ หมายถึง ขวนขวาย หาความรู้ใหม่ๆ มาปรับใช้ในงาน 4. จริยธรรม หมายถึง ทำงานซื่อสัตย์ โปร่งใส ยึดมั่นในหลักการ 5. ความร่วมแรงร่วมใจ หมายถึง ช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานเพื่อให้งานของกลุ่มประสบความสำเร็จ เอกสารสงวนสิทธิ์ใช้สำหรับกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเท่านั้น

ระดับสมรรถนะหลักตามที่สำนักงาน ก.พ.กำหนด 3-5 6-7 8 มุ่งผลสัมฤทธิ์ 1 2 3 ระดับสมรรถนะ คำอธิบาย ผลการประเมิน 3-5 6-7 8 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน 1-5 1 แสดงความพยายามในการทำงานที่ดี พยายามทำงานในหน้าที่ให้ดีและถูกต้อง มีความมานะอดทน ขยันหมั่นเพียรในการทำงานและตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบในงาน สามารถส่งงานได้ตามกำหนดเวลา แสดงออกว่าต้องการทำงานให้ได้ดีขึ้น เช่น ถามถึงวิธีการ ขอคำแนะนำอย่างกระตือรือร้น สนใจใคร่รู้ แสดงความเห็นในเชิงปรับปรุงพัฒนาเมื่อเห็นสิ่งที่ก่อให้เกิดการสูญเปล่าหรือหย่อนประสิทธิภาพ 2 แสดงสมรรถนะระดับที่ 1และสามารถทำงานได้ผลงานตามเป้าหมายที่วางไว้ กำหนดมาตรฐานหรือเป้าหมายในการทำงานเพื่อให้ได้ผลงานที่ดีขึ้น หมั่นติดตามผลงานและประเมินผลงานของตนเองโดยใช้เกณฑ์ที่กำหนดขึ้น โดยไม่ได้ถูกบังคับ เช่น ถามว่า ผลงานดีหรือยัง หรือต้องปรับปรุงอะไรจึงจะดีขึ้น ทำงานได้ตามผลงานตามเป้าหมายที่ผู้บังคับบัญชากำหนด หรือเป้าหมายของหน่วยงานที่รับผิดชอบ มีความละเอียดรอบคอบ เอาใจใส่ ตรวจตราความถูกต้องของงาน เพื่อให้ได้งานที่มีคุณภาพ 5 3 แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และสามารถทำงานได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ปรับปรุงวีธีการที่ทำให้ทำงานได้ดีขึ้น เร็วขึ้น มีคุณภาพดีขึ้น หรือมีประสิทธิภาพมากขึ้น เสนอหรือทดลองวิธีการทำงานแบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม เพื่อให้ได้ผลงานตามที่กำหนดไว้ เอกสารสงวนสิทธิ์ใช้สำหรับกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเท่านั้น

ระดับสมรรถนะหลักตามที่สำนักงาน ก.พ.กำหนด 3-5 6-7 8 บริการที่ดี 2 3 4 ระดับสมรรถนะ คำอธิบาย ผลการประเมิน 3-5 6-7 8 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน 1-5 1 แสดงความเต็มใจในการให้บริการ ให้การบริการที่เป็นมิตร สุภาพ เต็มใจต้อนรับ ให้บริการด้วยอัธยาศัยไมตรีอันดี และสร้างความประทับใจแก่ผู้รับบริการ ให้คำแนะนำ และคอยติดตามเรื่อง เมื่อผู้รับบริการมีคำถาม ข้อเรียกร้องที่เกี่ยวกับภารกิจของหน่วยงาน 2 แสดงสมรรถนะระดับที่ 1และสามารถให้บริการที่ผู้รับบริการต้องการได้ ให้ข้อมูล ข่าวสาร ของการบริการที่ถูกต้อง ชัดเจนแก่ผู้รับบริการได้ตลอดการให้บริการ แจ้งให้ผู้รับบริการทราบความคืบหน้าในการดำเนินการเรื่อง หรือขั้นตอนงานต่าง ๆ ที่ให้บริการอยู่ ประสานงานภายในหน่วยงานและกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ผู้รับบริการได้รับบริการที่ต่อเนื่องและรวดเร็ว 3 แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และเต็มใจช่วยแก้ปัญหาให้กับผู้รับบริการได้ รับเป็นธุระช่วยแก้ไขปัญหาหรือแนวทางแก้ไขที่เกิดขึ้นแก่ผู้รับบริการอย่างรวดเร็ว เต็มใจ ไม่บ่ายเบี่ยง ไม่แก้ตัว หรือปัดภาระ คอยดูแลให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจ และนำข้อขัดข้องใดๆ ในการให้บริการ (ถ้ามี) ไปพัฒนาการให้บริการให้ดียิ่งขึ้น 5 4 แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และให้บริการที่เกินความคาดหวังในระดับทั่วไป แม้ต้องใช้เวลาหรือความพยายามอย่างมาก ให้เวลาแก่ผู้รับบริการ โดยเฉพาะเมื่อผู้รับบริการประสบความยากลำบาก เช่น ให้เวลาและความพยายามพิเศษในการให้บริการ เพื่อช่วยผู้รับบริการแก้ปัญหา คอยให้ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับงานที่กำลังให้บริการอยู่ ซึ่งประโยชน์แก่ผู้รับบริการ แม้ว่าผู้รับบริการจะไม่ได้ถามถึง หรือไม่ทราบมาก่อน ให้บริการที่เกินความคาดหวังในระดับทั่วไป เอกสารสงวนสิทธิ์ใช้สำหรับกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเท่านั้น

ระดับสมรรถนะหลักตามที่สำนักงาน ก.พ.กำหนด สั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน 3-5 6-7 8 สั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน 1 2 3 ระดับสมรรถนะ คำอธิบาย ผลการประเมิน 3-5 6-7 8 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน 1-5 1 แสดงความสนใจและติดตามความรู้ใหม่ๆ ในสาขาอาชีพของตน กระตือรือร้นในการศึกษาหาความรู้ สนใจเทคโนโลยีและองค์ความรู้ใหม่ๆ ในสาขาอาชีพของตน หมั่นทดลองวิธีการทำงานแบบใหม่ๆ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและความรู้ความสามารถของตนให้ดียิ่งขึ้น ติดตามเทคโนโลยีองค์ความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอด้วยการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติราชการ 2 แสดงสมรรถนะระดับที่ 1และมีความรู้ในวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆ ในสาขาอาชีพของตน รอบรู้เท่าทันเทคโนโลยีหรือองค์ความรู้ใหม่ๆ ในสาขาอาชีพของตนและที่เกี่ยวข้องหรืออาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ของตน ติดตามแนวโน้มวิทยาการที่ทันสมัยและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับงานอย่างต่อเนื่อง 5 3 แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และสามารถนำความรู้ วิทยาการ หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ได้ศึกษามาปรับใช้กับการทำงาน เข้าใจประเด็นหลักๆ นัยสำคัญ และผลกระทบของวิทยาการต่าง ๆ อย่างลึกซึ้ง สามารถนำวิชาการ ความรู้ หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ สั่งสมความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอและเล็งเห็นประโยชน์ ความสำคัญขององค์ความรู้ เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่จะส่งผลกระทบต่องานของตนเองในอนาคต เอกสารสงวนสิทธิ์ใช้สำหรับกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเท่านั้น

ระดับสมรรถนะหลักตามที่สำนักงาน ก.พ.กำหนด 3-5 6-7 8 จริยธรรม 1 2 3 ระดับสมรรถนะ คำอธิบาย ผลการประเมิน 3-5 6-7 8 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน 1-5 1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส ซื่อสัตย์สุจริต ถูกต้องตามหลักกฎหมาย จริยธรรมและระเบียบวินัย แสดงความคิดเห็นของตนตามหลักวิชาชีพอย่างเปิดเผยตรงไปตรงมา 2 แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และมีสัจจะเชื่อถือได้ รักษาวาจา มีสัจจะเชื่อถือได้ พูดอย่างไรทำอย่างนั้น ไม่บิดเบือนอ้างข้อยกเว้นให้ตัวเอง มีจิตสำนึกและความภาคภูมิใจในความเป็นข้าราชการ อุทิศแรงกายใจผลักดันให้ภารกิจหลักของตน และหน่วยงานบรรลุผล เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาประเทศชาติและสังคมไทย 5 3 แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และยึดมั่นในหลักการ ยึดมั่นในหลักการและจรรยาบรรณของวิชาชีพ ไม่เบี่ยงเบนด้วยอคติหรือผลประโยชน์ส่วนตน เสียสละความสุขสบายตลอดจนความพึงพอใจส่วนตัวหรือครอบครัว โดยมุ่งให้ภารกิจในหน้าที่สัมฤทธิ์ผลเป็นสำคัญ เอกสารสงวนสิทธิ์ใช้สำหรับกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเท่านั้น

ระดับสมรรถนะหลักตามที่สำนักงาน ก.พ.กำหนด 3-5 6-7 8 ความร่วมแรงร่วมใจ 1 2 3 ระดับสมรรถนะ คำอธิบาย ผลการประเมิน 3-5 6-7 8 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน 1-5 1 ทำหน้าที่ของตนในทีมให้สำเร็จ ทำงานในส่วนที่ตนได้รับมอบหมายได้สำเร็จ สนับสนุนการตัดสินใจในกลุ่ม รายงานให้สมาชิกทราบความคืบหน้าของการดำเนินงานในกลุ่ม หรือข้อมูลอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานอย่างต่อเนื่อง 2 แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และให้ความร่วมมือในการทำงานกับเพื่อนร่วมงาน สร้างสัมพันธ์ เข้ากับผู้อื่นในกลุ่มได้ดี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้ความร่วมมือกับผู้อื่นในทีมด้วยดี กล่าวถึงเพื่อนร่วมงานในเชิงสร้างสรรค์ 5 3 แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และประสานความร่วมมือของสมาชิกในทีม รับฟังความคิดเห็นของสมาชิกในทีม เต็มใจเรียนรู้จากผู้อื่น รวมถึงผู้ใต้บังคับบัญชา และผู้ร่วมงาน ประมวลผลความคิดเห็นต่างๆ มาใช้ประกอบการตัดสินใจหรือวางแผนงานร่วมกันในทีม ประสานและส่งเสริมสัมพันธภาพอันดีในทีม เพื่อสนับสนุนการทำงานร่วมกันให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เอกสารสงวนสิทธิ์ใช้สำหรับกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเท่านั้น