สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง www.sepo.go.th ข้อมูลทั่วไป การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) [อสมท]
Advertisements

ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
การสั่งให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งในระดับควบตำแหน่งเลขที่หนึ่งไปแต่งตั้ง
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.)
โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต
องค์การสุรา กรมสรรพสามิต
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.)
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
โรงงานผลิตยางแผ่นผึ่งแห้ง/ยางแผ่นรมควันสร้างขึ้น
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป บริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด (บอก.)
องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.)
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การสวนพฤกษศาสตร์ (อ.ส.พ.)
องค์การสะพานปลา (อสป.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.)
โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง (รยส.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป ธนาคารออมสิน ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด.
องค์การตลาด พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การตลาด พ.ศ. 2496
บริษัท ไทยเดินเรือทะเล จำกัด (บทด.)
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.)
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การคลังสินค้า (อคส.)
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การจัดการน้ำเสีย (อจน.)
องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อตก.)
การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป การกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป สำนักงานธนานุเคราะห์ (สธค.)
การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การสวนสัตว์ (อสส.)
บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด (บวท.)
การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.)
การประปานครหลวง (กปน.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (ธอท.)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (บกท.)
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
บริษัท ขนส่ง จำกัด (บขส.)
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม.
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (บตท.)
บริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)(กสท)
พ.ร.บ. การไฟฟ้านครหลวง พ.ศ. 2501
บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (ปณท.)
บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.)
สถาบันการบินพลเรือน (สบพ.)
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหารกองทุน
3. องค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย
มติ ครม.19 มิถุนายน 2550 เห็นชอบ
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
การคัดเลือกฯ ปริญญาโท
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด สำนักกฎหมาย ส่วนกฎหมาย 1 ผู้อำนวยการส่วน : - ผู้จัดทำ : นางสาวอภิรดี จิตต์ปรารพ โทร ต่อ 6746 วันที่จัดทำ : 31 พ.ค. 54 (Update) วัตถุประสงค์ (ม. 7) (1) ดำเนินกิจการรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งจังหวัดอื่นตามที่กำหนดโดยพระ ราชกฤษฎีกา หรือระหว่างจังหวัดดังกล่าว (2) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำโครงการและแผนงานเกี่ยวกับกิจการรถไฟฟ้าเพื่อปรับปรุงและพัฒนา ให้ทันสมัย (3) ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับกิจการรถไฟฟ้าและธุรกิจอื่นเพื่อประโยชน์แก่ รฟม. และประชาชนในการ ใช้บริการกิจการรถไฟฟ้า (ดู ม. 9 ประกอบ) จำนวนและองค์ประกอบคณะกรรมการ ไม่เกิน 14 คน ประธานกรรมการ ผู้แทนสำนักงานปลัดสำนัก นายกรัฐมนตรี ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงคมนาคม ผู้แทนสำนักนโยบายและแผนการขนส่ง และจราจร ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้แทนกรมโยธาธิการและ ผังเมือง ผู้แทนสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้แทนกรุงเทพมหานคร กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่เกิน 4 คน (ซึ่งในจำนวนนี่ต้องแต่งตั้งจากผู้แทนองค์กรพัฒนาภาคเอกชนใน ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค 1 คน) ผู้ว่าการ เป็นกรรมการและเลขานุการโดยตำแหน่ง (ม.13) วาระการดำรงตำแหน่ง :ประธานกรรมการและกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปี (ม. 16) การแต่งตั้งกรรมการอื่น ให้คณะรัฐมนตรีเป็นผู้มีอำนาจแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่น (ม. 16) ผู้มีอำนาจแต่งตั้งผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการเป็นผู้แต่งตั้งและกำหนดอัตราเงินเดือนของผู้ว่าการ โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี (ม. 20) โดยอยู่ในวาระคราวละ 5 ปี (ม. 22) (แต่ต้องถือตาม พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ คือ ไม่เกิน 4 ปี ตามแนววินิจฉัยของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา) การพ้นจากตำแหน่ง (ม. 23(3)) คณะกรรมการให้ออกด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเพราะ บกพร่องต่อหน้าที่หรือมีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหย่อนความสามารถ ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง เรื่องเสร็จที่ ๒๒๒/๒๕๕๑ การใช้ประโยชน์บนพื้นที่ว่างเหนือแนวอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดินและสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล รฟม. ได้สร้างอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดินและสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการเวนคืนเพื่อดำเนินกิจการรถไฟฟ้า ส่วนพื้นที่ว่างบนและเหนือแนวสายทาง อุโมงค์และสถานีรถไฟฟ้า รฟม. สามารถนำไปดำเนินกิจการอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการรถไฟฟ้าได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้วัตถุประสงค์ของการเวนคืนและต้องอยู่ภายใต้ขอบ วัตถุประสงค์การจัดตั้ง รฟม. เช่นเดียวกับการใช้พื้นที่ด้านบนรอบๆ บริเวณสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ซึ่งมิใช่ปากทางเข้าออกสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ต้องพิจารณาว่าอยู่ในขอบ วัตถุประสงค์ของการเวนคืนหรือไม่ด้วย สังกัด : กระทรวงคมนาคม ประธานกรรมการ : นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม กรรมการผู้แทน กค. : นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ Website : โทร ผู้ว่าการ (CEO) : อยู่ในระหว่างการสรรหาผู้ว่าการแทน นายชูเกียรติ โพธยานุวัตร ( นายรณชิต แย้มสะอาด รองผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ) รักษาการผู้ว่าการ)) เงินเดือนพนักงาน กลุ่มโครงสร้างเงินเดือน  คณะกรรมการกำหนดโครงสร้างเงินเดือนได้เอง  มีบัญชีโครงสร้างเงินเดือนของตนเอง  ใช้บัญชีโครงสร้างเงินเดือน 58 ขั้น (Min – Max ของเงินเดือน= 5,900 – 224,380 บาท) อัตราเงินเดือนแรกบรรจุ (ปริญญาตรี 4 ปี): 11,580 บาท จำนวนพนักงาน 576 คน (31 พ.ค. 54) คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม เพิ่มเติมจาก พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ประธานกรรมการและกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง (มาตรา 15) ต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม คือ (1) เป็นผู้มีส่วนได้เสียในสัญญากับ รฟม. หรือในกิจการที่กระทำให้แก่ รฟม. หรือในกิจการที่มีสภาพอย่าง เดียวกันและมีลักษณะเป็นการแข่งขันกับกิจการของ รฟม. ไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อม (2) เป็นประธานกรรมการหรือกรรมการในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่ รฟม. เป็นผู้ถือหุ้นหรือในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด ที่มีสัญญาร่วมงานหรือสัญญาสัมปทานกับ รฟม. อำนาจพิเศษตามกฎหมายจัดตั้ง ประธานกรรมการ กรรมการ ผู้ว่าการ และพนักงาน เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา (ม. 30) อำนาจสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำโครงการที่จะจัดสร้างกิจการรถไฟฟ้า ภายใต้หลักเกณฑ์ที่กำหนด (ม. 32) อำนาจในการใช้อสังหาริมทรัพย์เพื่อกิจการขนส่งมวลชน (ม. 35) รฟม. โดยความเห็นชอบจาก ครม. อาจให้สัมปทานกิจการรถไฟฟ้าทั้งหมดหรือบางส่วนแก่เอกชนได้ (ม. 43) (โปรดดูข้อกำหนดต่างๆ เกี่ยวกับสัมปทาน ตามหมวด 4 มาตรา 43 – 56) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มีหน้าที่รักษาความปลอดภัยความสงบ เรียบร้อยในเขตระบบไฟฟ้าตามกฎกระทรวงหรือตามที่ผู้ว่าการมอบหมาย และให้มีอำนาจ ค้น จับกุม ผู้กระทำความผิดส่งพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ มีอำนาจเข้าไปในเคหสถานหรือสถานที่ใดๆ ที่ประกอบกิจการรถไฟฟ้ารวมถึงสถานที่ทำการของผู้รับสัมปทานในเวลาทำการ (ม. 63) รอง CEO  พนักงาน  สัญญาจ้าง CFO  พนักงาน  สัญญาจ้าง มติคณะรัฐมนตรีที่ยกเว้น  ได้รับยกเว้น การปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติ คณะรัฐมนตรีที่ใช้บังคับกับรัฐวิสาหกิจทั่วไป  ได้รับยกเว้นการปฏิบัติตามมาตรา 13 (2) พ.ร.บ. แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ การดำเนินการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้า ร่วมงานหรือดำเนินการ ในกิจการของรัฐ พ.ศ ปัจจุบันมีโครงการให้เอกชนร่วมการงาน  มีโครงการ จำนวน 2 โครงการ โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน (เฉลิมรัชมงคล) อยู่ในขั้นตอน  คกก. ม. 13  คกก. ม. 22 โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง (บางใหญ่ – บางซื่อ) อยู่ในขั้นตอน  คกก. ม. 13  คกก. ม. 22 หมายเหตุ ในการพิจารณาคุณสมบัติบุคลากรรัฐวิสาหกิจ จะต้องพิจารณา พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ กฎหมาย จัดตั้งรัฐวิสาหกิจและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบกัน ที่มาของข้อมูล  สัญญาจ้างผู้บริหาร   มติคณะรัฐมนตรี  ประสานงานกับเจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจ พระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ มติ ครม. ที่ยกเว้นการปฏิบัติเรื่องต่าง ๆ คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของบุคลากรรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย กรรมการ (ม.5) ผู้บริหารสูงสุด (ม. 8 ตรี) พนักงาน (ม.9) จำนวนกรรมการ ไม่เกิน 11 คน แต่ถ้ารัฐวิสาหกิจใดมีข้อกำหนดให้มีกรรมการน้อยกว่า 11 คน ก็ให้ เป็นไปตามที่กำหนดไว้ แต่ถ้าจำเป็นต้องมีกรรมการเกินกว่า 11 คน ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดขออนุมัติจาก ครม. แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 คน (ม. 6) การนับจำนวนการดำรงตำแหน่งของกรรมการในรัฐวิสาหกิจ ไม่เกิน 3 แห่ง นับรวมการเป็น กรรมการโดยตำแหน่ง การได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน แต่ไม่รวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง ที่ได้มีการมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทน (ม. 7) วาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี กรณีกรรมการที่มิใช่กรรมการโดยตำแหน่ง (ไม่ใช้บังคับแก่กรรมการของ บริษัท จำกัด) แต่อาจได้รับแต่งตั้งใหม่ (ม. 8) การแต่งตั้งกรรมการอื่น ผู้มีอำนาจพิจารณาแต่งตั้งจากบุคคลในบัญชีรายชื่อกรรมการที่กระทรวง การคลังจัดทำขึ้นไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น (ม. 12/1 วรรค 1) การกำหนดค่าตอบแทนและร่างสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (ม. 8 จัตวา วรรคเจ็ด) พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม สิทธิพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ปัจจุบันไม่ปรากฏว่ามีสิทธิพิเศษเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ตามมติคณะรัฐมนตรี

องค์ประกอบ (มาตรา 13) -ประธานกรรมการ -ผู้แทนสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี -ผู้แทนกระทรวงการคลัง -ผู้แทนกระทรวงคมนาคม -ผู้แทนสำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร -ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ -ผู้แทนกรมโยธาธิการและผังเมือง -ผู้แทนสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม -ผู้แทนกรุงเทพมหานคร -กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่เกิน 4 คน (ซึ่งในจำนวนนี่ต้องแต่งตั้งจากผู้แทนองค์กรพัฒนาภาคเอกชนในด้านการคุ้มครอง ผู้บริโภค 1 คน) ผู้ว่าการ เป็นกรรมการและเลขานุการโดยตำแหน่ง วาระการดำรงตำแหน่ง : ประธานกรรมการและกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปี (ม. 16) วาระการดำรงตำแหน่ง : 5 ปี อาจได้รับการแต่งตั้งอีกแต่ไม่เกิน 2 วาระ (ม. 22) อำนาจ-หน้าที่ : ม.24 บริหารกิจการของ รฟม. ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และนโยบายของ คกก. และมีอำนาจบังคับ บัญชาพนักงานและลูกจ้าง ผู้ว่าการต้องรับผิดชอบต่อ คกก. ในการบริหารกิจการ รฟม. - อำนาจของผู้ว่าการ (ม.25) - ผู้ว่าการเป็นผู้แทนของ รฟม. ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก และจะมอบอำนาจก็ได้ (ม. 26) - คกก. เป็นผู้แต่งตั้งและกำหนดอัตราเงินเดือนของ ผู้ว่าการโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี (ม. 20) ผู้บริหาร คณะกรรมการ (ไม่เกิน 14 คน)