โปรแกรมประเมินค่าเสียหายทางสิ่งแวดล้อมบางประการหลังการทำลายป่าไม้ สำเริง ปานอุทัย ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
ความต้องการของระบบ ใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ที่มีระบบปฏิบัติการเป็น Window xp มีความละเอียดของหน้าจอแสดงผลอย่างน้อย 1024 X 768 Pixel เครื่องพิมพ์
ลักษณะทั่วไปของโปรแกรม สร้างขึ้นโดยใช้ Visual Basic 6 มีหน้าต่างเดียว แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ด้านซ้ายมือเป็นส่วนที่มีการนำเข้าข้อมูลต่าง ๆ ที่ใช้ในการประเมินค่า ทางด้านขวามือเป็นด้านที่แสดงผล ส่วนตรงกลางเป็นส่วนที่สั่งให้โปรแกรมทำงาน มีปุ่ม ”คิดค่าเสียหาย” เป็นตัวสั่งให้โปรแกรมทำการคำนวณค่าเสียหาย ปุ่ม ”ออกจากโปรแกรม” เป็นปุ่มที่ใช้ออกจากโปรแกรม ปุ่ม ”พิมพ์รายงาน” เป็นปุ่มที่ใช้สั่งพิมพ์รายงานออกทางเครื่องพิมพ์ จะมีคำเตือนแจ้งให้ผู้ใช้ทราบ หากลืมใส่ข้อมูลหรือข้อมูลที่ใส่ไม่ถูกต้อง
เริ่มต้น ดินสูญหาย ปุ๋ยสูญหาย น้ำสูญหาย มูลค่าน้ำสูญหาย Ra นำเข้าข้อมูลตำแหน่ง(ปริมาณน้ำฝน) อากาศร้อนขึ้น Ft นำเข้าข้อมูล (ชนิดป่า, %BA, ความสูง) ราคาท้องถิ่น L,S นำเข้าข้อมูล (สภาพพื้นที่) มูลค่าอากาศร้อน K นำเข้าข้อมูล (เนื้อดิน) N, P, K น้ำสูญหาย ดินสูญหาย ปุ๋ยสูญหาย ราคาท้องถิ่น ราคาท้องถิ่น ราคาท้องถิ่น มูลค่าน้ำสูญหาย มูลค่าดินสูญหาย มูลค่าปุ๋ยสูญหาย มูลค่าความเสียหายทั้งหมด สิ้นสุดการทำงาน
ข้อมูลทั่วไปที่ต้องใช้ (พื้นที่ป่าตัวแทน) จังหวัดที่เกิดเหตุ ชนิดป่า ผลรวมของพื้นที่หน้าตัดของต้นไม้ทุกต้น ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 4.5 ซม. (หน่วยเป็นตารางเซ็นติเมตร) ความสูงเฉลี่ยของต้นไม้ทุกต้น วัดที่จุดที่สูงที่สุด (หน่วยเป็นเมตร)
การคำนวณหาผลรวมของพื้นที่หน้าตัดลำต้น และความสูงโดยเฉลี่ยของต้นไม้ การคำนวณหาผลรวมของพื้นที่หน้าตัดลำต้น และความสูงโดยเฉลี่ยของต้นไม้ (1) ลำดับที่ต้นไม้ (2) เส้นรอบวงลำต้นที่ ระดับ 1.30 เมตร (ซม.) (3) คำนวณหาพื้นที่หน้าตัดลำต้น (ตร.ซม.) (3) = 0.0795 (2)2 (4) ความสูงของต้นไม้ (เมตร) 1 X1 Y1 Z1 2 X2 Y2 Z2 3 . X3 Y3 Z3 n Xn Yn Zn รวม/เฉลี่ย Y [Z]/n
การหาพื้นที่หน้าตัดจากเส้นรอบวง เส้นรอบวง = 2 r r = เส้นรอบวง / 2 ……….(1) พื้นที่หน้าตัด = r2 แทนค่า r ด้วย.…(1) พื้นที่หน้าตัด = * (เส้นรอบวง / 2 )2 พื้นที่หน้าตัด = (เส้นรอบวง )2 / 4
ข้อมูลทั่วไปที่ต้องใช้ (พื้นที่ป่าที่ถูกทำลาย) ขนาดพื้นที่ที่ถูกทำลาย (ไร่) ความลาดชัน (%) ความยาวด้านลาดเท (เมตร)
วิธีการเก็บวัดค่าความลาดชันโดยเฉลี่ยของพื้นที่ ค่าความลาดชันเฉลี่ย(%) = (X100)/Y Y x C
ความยาวด้านลาดเท
ข้อมูลทั่วไปที่ต้องใช้ (พื้นที่ป่าตัวแทน และ พื้นที่ป่าที่ถูกทำลาย) ข้อมูลดิน ความสูงชั้นดินทั้งหมด ความสูงชั้นดินทราย (ซม.) ความสูงชั้นทรายแป้ง
Water Clay Sand Silt
การติดตั้งโปรแกรมก่อนใช้งาน
ส่วนวิจัยต้นน้ำ 0-2561-0777 ต่อ 1821 http://www.dnp.go.th/watershed/evaluation.htm ส่วนวิจัยต้นน้ำ 0-2561-0777 ต่อ 1821