โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
Advertisements

โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
ดิน(Soil).
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
การถนอมอาหาร.
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
ขั้นตอนวิธีการ การเก็บตัวอย่างดิน 1) เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกพืช ให้กระจายทั่วแปลงประมาณ 10–30 จุดต่อแปลง เก็บตัวอย่างดินระดับความลึกเท่ากับระดับไถพรวน.
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การปลูกพืชกลับหัว.
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
************************************************
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น การเลี้ยงสัตว์น้ำโดยวิธีชีวภาพ โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น

เกษตรธรรมชาติคืออะไร เกษตรธรรมชาติเป็นวิธีการดำเนินงานเกษตรที่มุ่งเน้นการผลิตทางการเกษตรตามกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ ทำให้ดินที่มีชีวิต โดยการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ที่มีชีวิต เกิดประโยชน์ทั้งระบบการเกษตรที่เป็นธรรมชาติ ไม่ใช้สารเคมีและยาฆ่าแมลง อันเป็นการทำลายระบบนิเวศน์การเกษตร เป็นระบบที่ให้ผลผลิตและคุณภาพสูงซึ่งก่อให้เกิดความมั่นคงยั่งยืนในขณะเดียวกันก็รักษาสิ่งแวดล้อมด้วย

เป้าหมายเกษตรธรรมชาติ ผลิตอาหารที่ปลอดจากสารพิษ หรือสารเคมี ช่วยภาวะเศรษฐกิจและสภาพจิตใจของผู้ผลิตและผู้บริโภค เป็นการเกษตรที่ทุกคนสามารถทำได้และเป็นการเกษตรอย่างยั่งยืน ไม่ทำลายความสมบูรณ์ของดินและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ผลิตอาหารให้เพียงพอ และมีคุณภาพสูงแก่ประชากรโลกที่กำลังเพิ่มมากขึ้น

การทำปุ๋ยหมักธรรมชาติ(โบกาชิ) การทำปุ๋ยหมักธรรมชาติ คือการนำเอาอีเอ็มมาหมักผสมกับอินทรียวัตถุเป็นการขยายจุลินทรีย์ที่มี ประสิทธิภาพให้มีจำนวนมากขึ้นแข็งแรงขึ้น และฟักตัวอยู่ในอินทรียวัตถุ เพื่อนำไปใช้ปรับปรุงดินให้ร่วนซุย มีแร่ธาตุอาหารที่สำคัญเหมาะแก่การเพาะ ปลูกนอกจากนี้ยังใช้กับการเลี้ยงสัตว์ ได้อีกด้วย

ส่วนผสมในการทำปุ๋ยหมักธรรมชาติ (โบกาฉิ) มูลสัตว์แห้งทุกชนิด 10 กิโลกรัม (1/2 ปี๊บ) แกลบดิบ 20 กิโลกรัม (1 ปี๊บ) รำละเอียด 20 กิโลกรัม (1 ปี๊บ) กากถั่วลิสง 5 กิโลกรัม (1/4 ปี๊บ) อีเอ็ม 4 ช้อนโต๊ะ กากน้ำตาล 4 ช้อนโต๊ะ น้ำสะอาด 10 ลิตร (1/2ปี๊บ) * หากไม่มีกากถั่วป่น ให้เพิ่มมูลสัตว์แห้งทุกชนิดเป็นจำนวน 20 กิโลกรัม (1 ปิ๊บ )

วิธีทำ 1. นำมูลสัตว์ผสมกับแกลบดิบให้เข้ากัน

2. ผสมอีเอ็ม กับกากน้ำตาล และน้ำสะอาด 10 ลิตรที่เตรียมไว้ใส่บัวรดน้ำ แล้วรดบนกองมูลสัตว์กับแกลบให้ชุ่ม คลุกเคล้าให้เข้ากัน จะมีความชื้นพอดี 40-50 %

3. นำรำละเอียดกับกากถั่วป่น ลงคลุกเคล้ากับแกลบผสมมูลสัตว์แล้วนำไปหมักดังนี้

- นำส่วนผสมที่เตรียมไว้กองบนพื้นให้มีความหนา 15-20 ซ. ม - นำส่วนผสมที่เตรียมไว้กองบนพื้นให้มีความหนา 15-20 ซ.ม. คลุมด้วยกระสอบป่านหมักไว้ 7 วัน โดยกลับกองปุ๋ยทุกวัน วันละ 1-2 ครั้ง - นำส่วนผสมที่เตรียมไว้ไปใส่กระสอบ ถุงปุ๋ย หรือถุงอาหารสัตว์ที่อากาศถ่ายเทได้ประมาณ 3/4 ของกระสอบไม่ต้องกดให้แน่น พลิกกระสอบแต่ละด้านทุกวัน

4. ปุ๋ยหมักธรรมชาติ (โบกาฉิ) ที่ได้จะร่วนแห้ง มีกลิ่นหอมเหมือนเห็ดแห้ง และเย็น นำไปใช้ได้หรือบรรจุกระสอบ เก็บไว้ในที่ร่มไม่มีความชื้นควรใช้ให้หมดภายใน4 เดือน

วิธีใช้ 1. ใช้ในการเตรียมบ่อเลี้ยงปลา/กุ้ง ทดแทนการใช้สารเคมีและปูนขาว 2. ใช้ในการปรับคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงปลาให้มีสภาพดีอยู่เสมอโดยใช้ปุ๋ยหมักธรรมชาติ (โบกาฉิ) จำนวน 20 กิโลกรัม ต่อบ่อเลี้ยงปลาขนาด 1 ไร่ (น้ำในบ่อลึกเฉลี่ย 1 เมตร) ใส่ปุ๋ยหมักธรรมชาติทุกๆ 10 วันตลอดระยะเวลาที่เลี้ยงปลา

3. ใช้เตรียมดินเพื่อปลูก พืชผัก ไม้ผล พืชไร่นา ฯลฯ 4. ใช้บำรุงดินใน ไร่ นา สวน ให้สมบูรณ์อยู่เสมอ 5. ใช้ปรับสภาพน้ำเน่า และกำจัดกลิ่นเหม็นต่างๆ

การรักษาสภาพแวดล้อมในบ่อปลา คือการรักษาคุณภาพดินและน้ำให้อยู่ในสภาพดีอยู่เสมอ ไม่เกิดมลพิษแก่ปลาปลาที่เลี้ยงในบ่อ นอกจากการไม่ปล่อยปลาหนาแน่นและให้อาหารมากเกินไป การใช้อีเอ็มเป็นการช่วยขจัดของเสียและก๊าซพิษในบ่อ การใช้โบกาชิจำนวน 20 กิโลกรัม ต่อบ่อเลี้ยงปลาขนาด 1 ไร่ (น้ำในบ่อลึกเฉลี่ย 1 เมตร) ใส่ปุ๋ยหมักธรรมชาติทุกๆ 10 วัน ตลอดระยะเวลาที่เลี้ยงปลาช่วย เพิ่มอาหารธรรมชาติ และประหยัดค่าอาหาร

การเลี้ยงปลาให้โตเร็ว ต้องให้อาหารอย่างเพียงพอและมีอาหารครบถ้วน มีการเสริมสร้างความแข็งแรงโดยผสมอีเอ็มในอาหารให้ปลากิน การทำอาหารจากอีเอ็มสูตรต่างๆ สูตรปลากินพืช ปลายข้าวเหนียวต้มสุก 2 กิโลกรัม รำละเอียด 1 กิโลกรัม ผักสดสับละเอียด 1 กิโลกรัม อีเอ็ม 1ช้อนโต๊ะ กากน้ำตาล 1ช้อนโต๊ะ น้ำสะอาด 5 ลิตร

สูตรปลากินเนื้อ ปลายข้าวเหนียวต้มสุก 1 กิโลกรัม รำละเอียด 2 กิโลกรัม เศษเนื้อหรือซี่โครงไก่ สับละเอียด 1 กิโลกรัม อีเอ็ม 1ช้อนโต๊ะ กากน้ำตาล 1ช้อนโต๊ะ น้ำสะอาด 5 ลิตร

วิธีทำ นำส่วนผสมทั้งหมดคลุกเล้าเข้ากันหมักทิ้งไว้ 6 ชั่วโมงแล้วจึงนำให้ปลากิน ปั้นเป็นก้อนขนาดเท่ากำมือ ให้อาหารโดยใส่ภาชนะที่เป็นกระบะจมในน้ำ 30 ซ.ม. 2 เวลา เช้าเย็น ปลาจะกินอาหารอิ่มในเวลา 30 นาที ปรับปริมาณอาหารทุก 30 วัน อาหารปลาหมักเช้าในช่วงเย็นหมักเย็นในช่วงเช้า สำหรับการให้อาหารสำเร็จรูปผสมอีเอ็มโดย อาหารเม็ด 1 กิโลกรัม อีเอ็ม 2 ช้อนโต๊ะ น้ำสะอาด 0.8-1 ลิตร แช่ 30 นาที ก่อนให้

ลด ละ เลิก การใช้สารเคมี ชีวีสดใส ลด ละ เลิก การใช้สารเคมี ชีวีสดใส

สวัสดี