การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
สมดุลเคมี.
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
คณิตศาสตร์ที่ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
เฉลยการบ้าน Stereochemistry
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
ทบทวนเรื่องความเสถียรของอัลคีน
ชนิด ความเข้มข้นและการเตรียม
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
(Impulse and Impulsive force)
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่องความเข้มข้นของสารละลาย
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมและการชน.
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
การทดลองที่ 5 Colligative property
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
ชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง เคมีไฟฟ้า.
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
วันที่ 8 ส. ค กลุ่ม 4, 2, 8, 7 วันที่ 15 ส. ค กลุ่ม 3, 5, 6, 1 ณ ห้องประชุมชั้น 4 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ กำหนดการจัด Event Marketing.
แบบฝึกหัดการเตรียมสารละลาย
เฉลยแบบฝึกหัด 1.3 # จงหา ก) ข) ค) (ถ้ามี)
เฉลยแบบฝึกหัด วิธีทำ.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
เศษส่วน.
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
คุณสมบัติการหารลงตัว
การแจกแจงปกติ.
วิธีทำ ตัวอย่างที่ วิธีทำ สินค้าทั้งหมดของ โรงงาน ตัวอย่างที่ 2.20.
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
การเปรียบเทียบทศนิยม และการใช้เครื่องหมาย  ,  ,  และ 
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
เกม 4 ตัวเลือก นายธีรพงษ์ เค้าภูไทย เริ่มต้น.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการบวกเลข2หลัก
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ปริมาตรทรงสามมิติ  พื้นที่ฐาน  สูง.
การทดลองที่ 3 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
การคำนวณหาค่าคงที่สมดุล
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
กรด-เบส Acid-Base.
ทฤษฎีกรด-เบส โดย อาจารย์ วิชัย ลาธิ.
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่ แบบฝึกหัด การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่

คำแนะนำ นักเรียนควรลองทำแบบฝึกหัดดูก่อนนะคะ จากนั้นค่อยดูเฉลยว่าถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ถูกต้องควรลองทำใหม่ เมื่อทำไม่ได้จริงๆ จึงค่อยดูเฉลยละเอียด

1. สารละลายกรดแก่ HCl ปริมาตร 3 dm3 มี HCl ละลายอยู่ 73 กรัม จะมีความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนเท่าใด (มวลอะตอม H = 1, Cl = 35.5) 1. 0.25 mol/dm3 เฉลยละเอียด 2. 0.50 mol/dm3 3. 0.67 mol/dm3 4. 1.34 mol/dm3

ไม่ถูกต้อง ลองใหม่อีกครั้ง ความพยายามอยู่ที่ไหน ไม่ถูกต้อง ลองใหม่อีกครั้ง ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น

ถูกต้อง เก่งมาก ทำข้อต่อไป

แนวคิด หาความเข้มข้นของ HCl 1. สารละลายกรดแก่ HCl ปริมาตร 3 dm3 มี HCl ละลายอยู่ 73 กรัม จะมีความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนเท่าใด(มวลอะตอม H = 1, Cl = 35.5) แนวคิด หาความเข้มข้นของ HCl ดังนั้น ความเข้มข้นของ HCl = 0.67 mol/dm3 HCl เป็นกรดแก่ แตกตัวดังสมการ HCl(aq) + H2O -----> Cl-(aq) + H3O+(aq) 0.67 mol/dm3 0.67 mol/dm3 0.67 mol/dm3 ดังนั้น ความเข้มข้นของ H3O+ = 0.67 mol/dm3

2. สารละลายกรด H2SO4 เข้มข้น 0 2. สารละลายกรด H2SO4 เข้มข้น 0.5 mol/dm3 ปริมาตร 200 cm3 จะมี H3O+ ละลายอยู่กี่โมลและถ้าเติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร 2500 cm3 จะมีความเข้มข้นของ H3O+ เป็นเท่าใด 1. 0.1 mol, 0.04 mol/dm3 เฉลยละเอียด 2. 0.2 mol, 0.08 mol/dm3 3. 0.1 mol, 0.05 mol/dm3 4. 0.5 mol, 1.00 mol/dm3

2. สารละลายกรด H2SO4 เข้มข้น 0 2. สารละลายกรด H2SO4 เข้มข้น 0.5 mol/dm3 ปริมาตร 200 cm3 จะมี H3O+ ละลายอยู่กี่โมลและถ้าเติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร 2500 cm3 จะมีความเข้มข้นของ H3O+ เป็นเท่าใด แนวคิด หาโมลของ H2SO4 โดย H2SO4 เข้มข้น 0.5 mol/dm3 หมายความว่า H2SO4 ปริมาตร 1000 cm3 มี H2SO4 0.5 mol H2SO4 ปริมาตร 200 cm3 มี H2SO4 H2SO4 เป็นกรดแก่ แตกตัวดังสมการ H2SO4(aq) + 2H2O -----> SO42-(aq) + 2H3O+(aq) 0.1 mol 0.1 mol 0.2 mol ดังนั้นโมลของ H3O+ = 0.2 mol

ดังนั้นความเข้มข้นของ H3O+ = 0.08 mol/dm3 หาความเข้มข้นของ H3O+ เมื่อเติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร 2500 cm3 จากการคำนวณที่ผ่านมาโมลของ H3O+ = 0.2 mol จึงหาความเข้มข้นของ H3O+ หลังเจือจาง ได้จากหลัก โมลหลังเจือจาง = โมลก่อนเจือจาง นั่นคือ ในสารละลาย 2500 cm3 มี H3O+ = 0.2 mol ดังนั้นความเข้มข้นของ H3O+ = 0.08 mol/dm3

3. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย KOH ปริมาตร 300 cm3 ที่มี OH- เข้มข้น 0 3. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย KOH ปริมาตร 300 cm3 ที่มี OH- เข้มข้น 0.5 mol/dm3 จะต้องใช้ KOH กี่กรัม (มวลอะตอม K=39, H=1, O=16) 1. 2.8 g เฉลยละเอียด 2. 3.5 g 3. 5.6 g 4. 8.4 g

3. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย KOH ปริมาตร 300 cm3 ที่มี OH- เข้มข้น 0 3. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย KOH ปริมาตร 300 cm3 ที่มี OH- เข้มข้น 0.5 mol/dm3 จะต้องใช้ KOH กี่กรัม แนวคิด KOH เป็นเบสแก่ที่เกิดจากธาตุหมู่ 1 [OH-] = [KOH] หรือพิจารณาจากสมการการแตกตัว KOH(aq) ------> K+(aq) + OH-(aq) 0.5 mol/dm3 0.5 mol/dm3 0.5 mol/dm3 หามวล KOH จากค่าความเข้มข้น สารละลาย KOH 1000 cm3 ใช้ KOH 0.5 mol สารละลาย KOH 300 cm3 ใช้ KOH ดังนั้นมวล KOH = mol x M.W. = 0.15x56 = 8.4 g

4. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายที่มี OH- เข้มข้น 0 4. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายที่มี OH- เข้มข้น 0.05 mol/dm3 ปริมาตร 400 cm3 จากสารละลาย Ba(OH)2 เข้มข้น 0.5 mol/dm3 จะต้องใช้สารละลาย Ba(OH)2 กี่ cm3 1. 5 cm3 เฉลยละเอียด 2. 10 cm3 3. 20 cm3 4. 40 cm3

4. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายที่มี OH- เข้มข้น 0 4. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายที่มี OH- เข้มข้น 0.05 mol/dm3 ปริมาตร 400 cm3 จากสารละลาย Ba(OH)2 เข้มข้น 0.5 mol/dm3 จะต้องใช้สารละลาย Ba(OH)2 กี่ cm3 แนวคิด จากสมการการแตกตัว Ba(OH)2(aq) ------> Ba2+ (aq) + 2OH-(aq) ความเข้มข้นของ OH- เป็น 2 เท่าของ Ba(OH)2 แสดงว่าโจทย์ต้องการเตรียมสารละลาย Ba(OH)2 เข้มข้น 0.025 mol/dm3 โดยวิธีเจือจาง จาก C1V1 = C2V2 0.5 x V1 = 0.025x 400 ดังนั้นต้องใช้สารละลาย Ba(OH)2 20 cm3