รู้เรื่องอาเซี่ยนมากน้อยเพียงใด ครูภาษาไทยเรา รู้เรื่องอาเซี่ยนมากน้อยเพียงใด
ผม/ฉันรู้สึกว่าตนเองเป็นพลเมืองอาเซียน (I feel that I am a citizen of ASEAN) 1. ลาว 96.0% 2. กัมพูชา 92.7% 3. เวียดนาม 91.7% 4. มาเลเซีย 86.8% 5. บรูไน 82.2% 6. อินโดนีเซีย 73.0% 7. ฟิลิปปินส์ 69.6% 8. ไทย 67.0% 9. พม่า 59.5% 10. สิงคโปร์ 49.3%
ถาม ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน รู้จักธงอาเซียน รู้ว่าอาเซียนก่อตั้งเมื่อใด Brunei 98.5% Indonesia 92.2% Laos 87.5% Myanmar 85.0% Singapore 81.5% Vietnam 81.3% Malaysia 80.9% Cambodia 63.1% Philippines 38.6% 10.THAILAND 38.5% Laos 68.4% Indonesia 65.6% Vietnam 64.7% Malaysia 53.0% Singapore 47.8% Brunei 44.3% Philippines 37.8% 8. Cambodia 36.6% Myanmar 32.5% 10. THAILAND 27.5%
เราจะรู้สึกอย่างไร หากเรายังปล่อยให้การรับรู้เรื่องนี้น้อยลง แต่มีคนอื่นๆรับรู้และเรียนรู้มากกว่าเรา เราจะรู้สึกอย่างไร
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 Academic Achievements Digital-Age Literacy รู้ภาษายุคดิจิตัล Effective Communication สื่อสารมีประสิทธิผล Inventive Thinking การคิดประดิษฐ์ -สร้าง High Productivity มีผลิตภาพสูง
Global Citizenship ความเป็นพลเมืองโลก GLOBAL DIMENSION Social justice ความยุติธรรมในสังคม GLOBAL DIMENSION Interdependence การพึ่งพาอาศัยกัน Human Rights สิทธิมนุษยชน Diversity ความหลากหลาย Conflict Resolution การแก้ปัญหาความขัดแย้ง Values & Perceptions ค่านิยมและการสัมผัสรับรู้ Sustainable Development การพัฒนาอย่างยั่งยืน
มารู้จักอาเซียนกันเถอะ
ASEAN Association of South East Asian Nations สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประชาคม อาเซียน ASEAN Community
น้ำเงิน = สันติภาพและเสถียรภาพ แดง = บ่งชี้ความกล้าหาญและความก้าวหน้า ขาว = ความบริสุทธิ์ เหลือง = สัญลักษณ์ของความเจริญรุ่งเรือง
คำขวัญ "One Vision, One Identity, One Community" (หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม)
“รวงข้าว 10 ต้นมัด รวมกันไว้” สัญลักษณ์อาเซียน “รวงข้าว 10 ต้นมัด รวมกันไว้” ประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้ง 10 ประเทศรวมกัน เพื่อมิตรภาพและความ เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน โดยสีที่ปรากฏใน สัญลักษณ์ของอาเซียน เป็นสีที่สำคัญของธงชาติ ของแต่ละประเทศสมาชิก อาเซียน
กำเนิดอาเซียน ประวัติ - ปรากฏในปฏิญญาอาเซียนที่ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 - ประชาคมอาเซียน เป็นการ สร้างสังคมภูมิภาค ให้พลเมืองทั้งสิบรัฐสมาชิกอยู่ ร่วมกันฉันญาติมิตร ในครอบครัวเดียวกัน หรือเป็น เพื่อนร่วมชุมชน คนหมู่บ้านเดียวกัน ประวัติ
- วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความ เข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศ ในภูมิภาค ธำรงไว้ซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคง ทางการเมือง สร้างสรรค์ความ เจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมการกินดี อยู่ดี บนพื้นฐานของความเสมอ ภาคและผลประโยชน์ร่วมกันของ ประเทศสมาชิก
- ประกาศใช้กฎบัตรอาเซียน เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 - การประชุมสุดยอดผู้นำ อาเซียนครั้งที่ 13 ณ ประเทศสิงคโปร์ เห็นพ้อง ให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียนใน ปี พ.ศ. 2558
- มีเป้าหมายสร้างความร่วมมือ 3 ส่วน 1. เสริมสร้างสันติสุขด้วยการ แก้ไขข้อพิพาทภายในภูมิภาค และการรับมือภัยคุกคามรูปแบบ ใหม่
2. เสริมสร้างความมั่งคั่งใน ภูมิภาค ส่งเสริมให้เกิดการ ไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และลดปัญหาความยากจน และความเหลื่อมล้ำทางสังคม การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ การคมนาคม พัฒนาความ ร่วมมือ ด้านกฎหมาย การเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว การ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการ ยกระดับการศึกษาและการพัฒนา ฝีมือแรงงาน
3. พัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชน ส่งเสริมการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน และเสริมสร้างอัตลักษณ์ทาง วัฒนธรรมของอาเซียน โดย กำหนดเป้าหมายในการพัฒนา พลเมืองอาเซียนให้มีคุณลักษณะที่ สำคัญ ได้แก่ มีการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มี ศักยภาพในด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี สามารถเข้าถึงการ ฝึกอบรมและนวัตกรรมต่าง ๆ และได้รับโอกาสที่ทัดเทียมกัน ในการเข้าถึงการพัฒนามนุษย์ สวัสดิการสังคม และความ ยุติธรรม
ASEAN Vision 2020 วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ A Concert of Southeast Asian Nations หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างมีพลวัต A Partnership in Dynamic Development ชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน A Community of Caring and Sharing Societies มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอก An Outward-Looking ASEAN
เรียนเพื่อรู้ เรียนเพื่อปฏิบัติ เรียนเพื่อเป็นอยู่ เรียนเพื่ออยู่ร่วมกัน
จะสอนเด็กให้เรียนรู้อย่างไร ครูภาษาไทยเรา จะสอนเด็กให้เรียนรู้อย่างไร