แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC421 File and Database Lab
Advertisements

11. การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบเชิงสัมพันธ์
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
Object-Oriented Analysis and Design
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ฐานข้อมูลและการออกแบบฐานข้อมูล
Response Object.
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
Databases Design Methodology
การออกแบบระบบและประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลเบื้องต้น (Database Management System)
Chapter 2 Database systems Architecture
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
กรณีศึกษา : งานบริหารและธุรการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อ.อารียา ศรีประเสริฐ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บูรณภาพของข้อมูล ลัชนา อินชัยวงศ์.
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
* ห้ามใช้ความคิดของตัวเองเด็ดขาด ให้ พิจารณาตามข้อความ 1. อ่านเรื่องอย่างคร่าวๆ แล้ววงหรือระบายคำที่ เป็นคำถามในตารางทุกคำ และทุกครั้งที่พบใน ข้อความที่อ่าน.
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
รายวิชา ระบบฐานข้อมูล 1 หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Entity Relationship Model
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส (Class Relationship)
Data Modeling Chapter 6.
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
System Analysis and Design
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
Geographic Information System
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
โมเดลจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล (ER-Diagram)
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
: Introduction to DATABASE (ฐานข้อมูลเบื้องต้น)
ภาระงาน 3.1 การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Entity-Relationship Model
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
งานกลุ่ม กลุ่มที่ 3 เรื่อง ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
MS Access (basic) By Kanok Khamhun. ฐานข้อมูล (Database) Database ( ฐานข้อมูล ) คือที่ เก็บรวบรวมข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์ไว้ด้วยกัน ขึ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์ของการเก็บ.
Week 5 Online available at
ส่วนประกอบของแบบจำลองอีอาร์
E-R to Relational Mapping Algorithm
Access 2003 คืออะไร Access 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการกับฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้เรา จัดการกับข้อมูลปริมาณมากๆ ได้ ง่ายดาย เช่นการจัดเก็บข้อมูล,
Enhanced Entity-Relationship Modeling
แบบจำลองข้อมูล (Data Model)
Introduction to Database
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ชุติมณฑ์ บุญมาก

แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล แนวคิดเกี่ยวกับแบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล อี-อาร์โมเดลกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

แนวคิดเกี่ยวกับแบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล Semantic Model อี-อาร์โมเดล

แนวคิดเกี่ยวกับแบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล Semantic Model เป็นแบบจำลองข้อมูลที่กล่าวถึงแนวคิดหรือความหมายของคำต่างๆ คือ Entity หมายถึง สิ่งที่สนใจสามารถระบุได้ในความเป็นจริง และต้องการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งนั้นๆด้วย Property หมายถึง คุณสมบัติหรือคุณลักษณะของ Entity Property ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละ Entity เรียกว่า Identity Relation หมายถึง Entity Typeที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 2 Entity Typeขึ้นไป Subtype

แนวคิดเกี่ยวกับแบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล อี-อาร์โมเดล (Entity-Relationship Model) เป็นแบบจำลองข้อมูลซึ่งแสดงถึงโครงสร้างของฐานข้อมูล สัญลักษณ์ต่างๆที่ใช้ในอี-อาร์โมเดลเรียกว่า อี-อาร์ไดอะแกรม Entity ใช้สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า Property ใช้สัญลักษณ์รูปวงรี Relation ใช้สัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด และเชื่อมต่อ Entity อื่นด้วยเส้นตรง SubType และ SuperType

อี-อาร์โมเดลกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การออกแบบฐานข้อมูลด้วยอี-อาร์โมเดล ปัญหาจากการออกแบบฐานข้อมูลด้วยอี-อาร์โมเดล การแปลงฐานข้อมูลที่ออกแบบด้วยอี-อาร์โมเดลเป็น ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

อี-อาร์โมเดลกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การออกแบบฐานข้อมูลด้วยอี-อาร์โมเดล มีขั้นตอนดังนี้ ศึกษารายละเอียดและลักษณะหน้าที่งานของระบบ กำหนด Entity ที่ควรมีในระบบฐานข้อมูล กำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง Entity กำหนดคุณลักษณะของ Entity กำหนดคีย์หลักของแต่ละ Entity นำสัญลักษณ์ที่ใช้ในอี-อาร์โมเดลมาอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล

อี-อาร์โมเดลกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ปัญหาจากการออกแบบฐานข้อมูลด้วยอี-อาร์โมเดล Fan Trap เป็นปัญหาที่เกิดจากลักษณะการจัดความสัมพันธ์ระหว่าง Entity Chasm Trap เป็นปัญหาที่เกิดจากการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลไม่ได้

อี-อาร์โมเดลกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การแปลงฐานข้อมูลที่ออกแบบด้วยอี-อาร์โมเดลเป็นฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ มีขั้นตอนดังนี้ แปลงเอนติทีให้เป็นรีเลชัน และแปลงความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตีเป็นความสัมพันธ์ระหว่างรีเลชัน แปลงรายละเอียดของเอนทิตีให้เป็นแอททริบิวต์ของรีเลชันและกำหนดคีย์ต่างๆให้แก่รีเลชัน การพิจารณาเค้าร่างข้อมูลของแต่ละรีเลชันที่ได้จาก 2 ขั้นตอนแรก