บูรณภาพของข้อมูล ลัชนา อินชัยวงศ์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

กาจัดการข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
The Management of Distributed Transaction
Centralized Log Server ระบบจัดเก็บข้อมูลจราจรคอมพิวเตอร์แบบรวมศูนย์
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
Information System and Technology
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ระบบสารสนเทศประมวณผลรายการธุรกรรม
คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
บทที่ 3 ระบบฐานข้อมูล Database system
สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
Selected Topics in IT (Java)
การออกแบบระบบและประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
Chapter 2 Database systems Architecture
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
“Backward” Unit Design?
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความรู้พื้นฐานในการออกแบบ ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การฟื้นสภาพและการควบคุมสภาวะพร้อมกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
กระบวนการสอบถามข้อมูล
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส (Class Relationship)
Transaction Processing Systems
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
Geographic Information System
(Transaction Processing Systems)
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
ข้อมูลและสารสนเทศ.
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
1. รายการเปลี่ยนแปลง (Transaction)
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
chatper 2 Software Requirement
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
By Kru.Jindawan Boonchakorn. ระบบสารสนเทศต้องผลิตสารสนเทศที่มี ความเชื่อถือได้ โดยพิจารณาจาก  ความถูกต้องแม่นยำ (Accurate) ระบบ สารสนเทศต้องมีการประมวลผลข้อมูลได้
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
บทที่ 12 กระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการที่ บุคคลจัดองค์การความรู้อันทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในพฤติกรรมของเขา และจะสามารถนำใช้อีก.
Introduction to Database
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บูรณภาพของข้อมูล ลัชนา อินชัยวงศ์

บูรณภาพของข้อมูล แนวคิดเรื่องบูรณภาพของข้อมูล การประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลงเบื้องต้น การจัดการรายการเปลี่ยนแปลง การจัดการรายการเปลี่ยนแปลงขั้นสูง

แนวคิดเรื่องบูรณภาพของข้อมูล บูรณภาพของข้อมูล หมายถึง ความถูกต้องของข้อมูลในฐานข้อมูล

แนวคิดเรื่องบูรณภาพของข้อมูล กฎเกณฑ์ของข้อมูล คือ กฎเกณฑ์ที่ใช้ในการรักษาความถูกต้องของข้อมูล มีจุดประสงค์เพื่อ ป้องกันความผิดพลาดที่เกิดจากการเพิ่มข้อมูลลงในฐานข้อมูล รักษาความถูกต้องของข้อมูล เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในฐานข้อมูล ทำให้ข้อมูลต่างๆในฐานข้อมูลมีความถูกต้องตรงกัน ทำให้ระบบจัดการฐานข้อมูลสามารถตัดสินใจได้ว่า จะจัดการกับข้อมูล ณ ตำแหน่งต่างๆในฐานข้อมูลอย่างไร

แนวคิดเรื่องบูรณภาพของข้อมูล กฎเกณฑ์ในการคงบูรณภาพของข้อมูลสามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับชนิดของข้อมูล (Type constraint) กฎเกณฑ์เกี่ยวกับแอททริบิวต์ของข้อมูล (Attribute constraint) บูรณภาพของคีย์ บูรณภาพของเอ็นทิตี้ บูรณภาพของการอ้างอิงแอททริบิวต์ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับฐานข้อมูล (Database constraint)

การประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลงเบื้องต้น รายการเปลี่ยนแปลง คือ การทำงานของระบบจัดการฐานข้อมูลที่ทำหน้าที่ในการจัดการบางอย่าง เช่น แก้ไข เพิ่ม หรือลบข้อมูล

การประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลงเบื้องต้น การจัดการรายการเปลี่ยนแปลงกับระบบจัดการฐานข้อมูล ความน่าเชื่อถือของระบบ ความคงอยู่ของระบบ เวลาในการตอบสนอง ผลลัพธ์จากการทำงาน อัตราการขยายตัว การปรับแต่งคุณลักษณะ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ความสามารถในการกระจาย

การประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลงเบื้องต้น คุณสมบัติหลักของรายการเปลี่ยนแปลง ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (Atomicity) ความถูกต้อง (Consistency) การแยกตัว (Isolation) ความคงทน (Durability)

การจัดการรายการเปลี่ยนแปลง การกู้คืน รักษาสถานภาพของข้อมูลที่ผ่านจุดสมบูรณ์แล้ว ยกเลิกรายการเปลี่ยนแปลงที่กระทำไปแล้ว แต่ยังไม่ผ่านจุดสมบูรณ์

การจัดการรายการเปลี่ยนแปลง การประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นลำดับ ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไข การจัดลำดับโดยการสลับกันอย่างสมดุล (Conflict Serializability) การจัดลำดับโดยใช้ผลัพธ์เสมือน (View Serializability)

การจัดการรายการเปลี่ยนแปลง การจัดการรายการเปลี่ยนแปลงใน SQL COMMIT ใช้ในการยืนยันผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับฐานข้อมูล ROLLBACK ใช้ในการยกเลิกการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อฐานข้อมูล จากการทำรายการชุดปัจจุบันจนถึงจุดสุดท้ายที่ใช้คำสั่ง COMMIT

การจัดการรายการเปลี่ยนแปลงขั้นสูง การตรวจสอบรายการประมวลผลการเปลี่ยนแปลง ช่วยรักษาความถูกต้องในการทำงานของระบบจัดการ ฐานข้อมูล ช่วยรักษาความถูกต้องของข้อมูลภายในฐานข้อมูล ระบบการประมวลผลแบบทันเวลา นอกจากความถูกต้องของผลลัพธ์แล้ว การทำงานให้เสร็จตามเวลาที่กำหนดถือเป็นเรื่องที่สำคัญอีกเรื่องหนึ่ง