ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
Distributed Administration
Principle.
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
รายงานโครงการหมายเลข COE
ระบบการจัดการเครือข่ายภายในคอนโด โดยใช้ระบบ Cloud Computing
เอกสารฉบับนี้ได้มาจากอินเทอร์เน็ต chandra. ac
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
UNDERSTANDING NETWORK BASIC ทำความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานเครือข่าย
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
HTTP Client-Server.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเตอร์เน็ทเบื้องต้น
การจัดการองค์ความรู้ การจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์สารสนเทศ.
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระบบประมวลผลการแข่งขันกีฬา : บาสเกตบอล
ObjectContex Object. 2 ObjectContext Object  เป็นออบเจ็กต์ที่ใช้ในการควบคุม ASP ทรานแซคชั่น ซึ่งถูกจัดการโดย Microsoft Transaction Server (MTS). โดยการ.
Chapter 1 ระบบฐานข้อมูล (Database System)
ทบทวนความเข้าใจ.
คอมพิวเตอร์เน็ตเวริ์คเบื้องต้น การจัดการระบบสารสนเทศ
What’s P2P.
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
การฟื้นสภาพและการควบคุมสภาวะพร้อมกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
Transaction Processing Systems
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
ประวัติความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
1. รายการเปลี่ยนแปลง (Transaction)
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
เส้นทางสู่ “ ข้อมูลแข็งแรง ” ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก กรมอนามัย งานสารสนเทศ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
ซอฟต์แวร์.
การจัดการฐานข้อมูล.
LOGO 1. Moodle (Modular Object- Oriented Dynamic Learning Environment) คือ โปรแกรมที่ ประมวลผลในเครื่องบริการ (Server-Side Script) ทำหน้าที่ให้บริการระบบ.
Introduction to Server Services
อินเทอร์เน็ต.
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ISP ในประเทศไทย
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ระบบฐานข้อมูล.
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
Application Layer.
หลักการออกแบบเว็บไซต์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
OSI Model Open System Interconnection. Open Systems Interconnection (OSI) จัดตั้งและกำหนดโดย องค์การกำหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ( International Standards.
Mr. Winai Purikasem. Introduction  Hypertext model  Use of hypertext in World Wide Web (WWW)  WWW client-server model  Use of TCP/IP protocols in.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย อาจารย์วิทวัส พันธุมจินดา

ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย แนวคิดของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย ระบบจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย

แนวคิดของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย ข้อมูลจะถูกจัดเก็บไว้ในหลายๆเครื่อง และเชื่อมต่อกันผ่านระบบเครือข่าย แต่ละที่จะมีระบบจัดการฐานข้อมูลของตนเอง คอมพิวเตอร์แต่ละที่ เรียกว่า ไซต์ หรือ โหนด

แนวคิดของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย ระดับของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ โปรแกรมส่วน Server รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการข้อมูล เหมือนกับโปรแกรม DBMS แบบรวมศูนย์ โปรแกรมส่วน Client รับผิดชอบเกี่ยวกับการเข้าถึงข้อมูล และทำการร้องขอบริการไปยังไซต์อื่น โปรแกรมส่วน Communication สนับสนุนการสื่อสารข้อมูลบนระบบเครือข่าย

แนวคิดของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย ลักษณะของฐานข้อมูลแบบกระจาย ความเป็นอิสระของการกระจายของข้อมูล ความถูกต้องในการประมวลผลทรานแซกชันแบบกระจาย ข้อมูลที่กระจายไปตามไซต์ต่างๆ และมีระบบจัดการฐานข้อมูลเดียวกัน เรียกว่า Homogeneous distributed database system นอกนั้นจะเรียกว่า Heterogeneous distributed database system การสร้าง Heterogeneous system ต้องอาศัย มาตรฐานที่เรียกว่า gateway protocols ในที่นี้ หมายถึง API ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมต่อ DBMS กับโปรแกรม

แนวคิดของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย การเก็บข้อมูลของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย การทำสำเนา (Replication) การทำสำเนาของรีเลชันไว้หลายๆสำเนา และแต่ละสำเนาเก็บไว้ต่างไซต์กัน การแยกรีเลชัน (Fragmentation) การแยกรีเลชันออกเป็นหลายๆส่วน และจัดเก็บแต่ละส่วนไว้ต่างไซต์กัน วิธี Replication และ Fragmentation การแยกรีเลชันออกเป็นหลายๆส่วน และแต่ละส่วนก็จะมีการจัดการแบบสำเนา

ระบบจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย ข้อดีของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย การกระจายข้อมูลตามลักษณะระบบงาน เพิ่มความน่าเชื่อถือ การยอมให้มีการใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ปรับปรุงการทำงาน

ระบบจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย หน้าที่ที่เพิ่มขึ้นจากระบบจัดการฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ คือ สามารถที่จะติดต่อไปยังไซต์อื่นๆ และส่งแบบสอบถามและข้อมูลผ่านทางระบบเครือข่ายได้ สามารถจัดเก็บข้อมูลที่มีการกระจาย และข้อมูลที่มีการสำเนา ไว้ในแคตตาลอกของ DDBMSได้ สามารถวางแผนการสืบค้นข้อมูลได้ และการทำทรานแซกชันที่มีการใช้ข้อมูลมากกว่า 1 ไซต์

ระบบจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย หน้าที่ที่เพิ่มขึ้นจากระบบจัดการฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ คือ สามารถตัดสินใจได้ว่าจะเข้าถึงข้อมูลที่ได้มีการสำเนาไว้จากไซต์ไหน สามารถที่จะจัดการความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้มีการทำสำเนาไว้ สามารถที่จะกู้คืนข้อมูลจากไซต์ที่ล้มเหลวได้

ระบบจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย กระบวนการสืบค้นข้อมูลแบบกระจาย Simple join processing Semijoin strategy Join strategies that exploit paralellism

ระบบจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย การควบคุมสภาวะการทำงานพร้อมกันและการฟื้นสภาพข้อมูล System structure ตัวจัดการทรานแซกชัน (Transaction Manager) ตัวประสานงานทรานแซกชัน (Transaction Coordinator) Commit Protocols Two-phase commit Three-phase commit Coordinator Selection

ระบบจัดการฐานข้อมูลแบบกระจาย การควบคุมสภาวะการทำงานพร้อมกันและการฟื้นสภาพข้อมูล Concurrency Control Locking Protocol Timestamping Deadlock Handling Centralized Approach Fully Distributed Approach