สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
Advertisements

การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี 24 กันยายน 2555
สถานการณ์โรคคอตีบ ประเทศไทย 30 ตุลาคม 2555
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ไข้เลือดออก.
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระดับกลุ่มจังหวัดและระดับจังหวัด
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
สรุปผลการปิดอำเภอ ปีงบประมาณ 2555 ศสท. สผส. สวผ..
แผนปฏิบัติการสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัด พื้นที่ X-RAY ประจำปีงบประมาณ 2556 งาน / โครงการ / กิจกรรม จำนว น ช่าง สำรว จ จำนว น กล้อ ง ( เครื่ อง ) เพิ่ม.
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
แนวทางการประชุมกลุ่ม
ไข้เลือดออก.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ข้อมูล ณ 20 มิถุนายน 2550 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ไพรินทร์ บุตรแสนลี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
สถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบ จังหวัดเลย และเพชรบูรณ์
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
เริ่ม ออก.
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 1 กันยายน 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555 นายปรีชา ลากวงษ์ งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร

ระดับประเทศ (1 ม.ค. - 26 ต.ค. 2555) พบผู้ป่วย 82 ราย จาก 8 จังหวัด เสียชีวิต 5 ราย อัตราป่วย 0.13 ต่อ ปชก.แสนคน อัตราตาย 0.01 ต่อ ปชก.แสนคน พบในกลุ่มอายุ 10 -14 ปี มากที่สุด (25.61%) รองลงมา 35 -44 ปี (14.63%) และ 7-9 ปี (12.20%) อัตราป่วยสูงสุด 5 อันดับแรก คือ เลย เพชรบูรณ์ ปัตตานี ยะลา และ หนองบัวลำภู ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข

ระดับภาค (1 ม.ค. -26 ต.ค. 2555) ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข

สถานการณ์การระบาดรายจังหวัด ปี 2555 พบผู้ป่วยรายแรก 24 มิถุนายน 255 (มิถุนายน- 30 ตุลาคม 2555) เลย ผู้ป่วย 52 ราย (passive case 39, active case 13) พาหะ 34 ราย พบผู้ป่วยรายสุดท้ายล่าสุด 8 ต.ค. (passive) หนองบัวลำภู ผู้ป่วย (confirmed) 4 ราย ผู้ป่วย (รอผล) 3 ราย พาหะ 3 ราย พบผู้ป่วยรายล่าสุด 5 ต.ค. พาหะ 9 ต.ค. เพชรบูรณ์ ผู้ป่วย 10 ราย (passive 4 active 6) สุราษฎร์ธานี ผู้ป่วย 2 ราย ตาย 1 ราย อุดรธานี ผู้ป่วย 3 ราย กลุ่มอายุ พบเปลี่ยนจาก วัยทำงาน เป็น ผู้ใหญ่ เด็ก (พบได้ทุกกลุ่มอายุ) ที่มา : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางการดำเนินงานควบคุมโรคคอตีบในจังหวัดยโสธร

พื้นที่เป้าหมาย พื้นที่ระบาด คือ พื้นที่ที่พบผู้ป่วยยืนยัน 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู สุราษฎร์ธานี ยะลา ปัตตานี และอุดรธานี พื้นที่สงสัย คือ พื้นที่ที่พบผู้ป่วยสงสัย หรือผู้ป่วยน่าจะเป็น 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงราย สกลนคร ชัยภูมิ ลพบุรี และพิษณุโลก พื้นที่เสี่ยง คือ พื้นที่ที่ติดกับพื้นที่เกิดโรค 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดน่าน พะเยา อุตรดิตถ์ หนองคาย พิจิตร นครสวรรค์ ขอนแก่น นครราชสีมา นราธิวาส และสงขลา พื้นที่อื่น ๆ คือ พื้นที่ที่ต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง เร่งรัดปรับปรุงความครอบคลุม (ยโสธร) ที่มา : สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพสัปดาห์ที่ 44 (1 ม.ค. - 3 พ.ย. 2555) สคร.7 อุบลราชธานี

มาตรการที่ดำเนินการไปแล้ว (ระยะเตรียมการ) มาตรการที่ดำเนินการไปแล้ว (ระยะเตรียมการ) ทำหนังสือสั่งการแจ้งเตือนเตรียมความพร้อม (ตุลาคม) ประชุมเตรียมความพร้อมทีม SRRT จังหวัดยโสธร อยู่เวรเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาวันหยุดราชการและ วันหยุดนักขัตฤกษ์ สำรวจ/ตรวจสอบ ความครอบคลุมวัคซีนและเตรียม กลุ่มเป้าหมาย (Mop up & catch up) ติดตามสถานการณ์การระบาดในจังหวัดที่ยังพบผู้ป่วย แจ้งแนวทางการเฝ้าระวังทางเวปไซต์ (http://203.157.181.13/cdcyaso/cdcyaso.php)

มาตรการที่ดำเนินการไปแล้ว (ระยะเตรียมการ) มาตรการที่ดำเนินการไปแล้ว (ระยะเตรียมการ) แจ้งข่าวสถานการณ์/ข้อสั่งการทางข้อความสั้น (SMS) ประสานเตรียมการเปิดห้องปฏิบัติการเพาะเชื้อ (รพท.ยส.) เตรียมวัสดุอุปกรณ์เก็บตัวอย่าง วัคซีน ยารักษา หากพบผู้ป่วยสามารถใช้ได้ทันที