การเขียนโปรแกรมภาษาซี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
รายวิชา ง40206 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
ลักษณะโครงสร้างของผังงาน
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
Introduction to C Language
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
การเขียนผังงาน ผังงานคือ อะไร ?.
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
2.3.1 รหัสเทียม (Pseudo code)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผังงาน (FLOW CHART) ส่วนประกอบของผังงาน (Flow Chart)
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้าง ภาษาซี.
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Problem Analysis and Algorithm (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิด)
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
การสร้างผังงานโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนโปรแกรมภาษาซี

ขั้นตอนการสร้างโปรแกรม โปรแกรมอิดิเตอร์ Source Code คอมไพเลอร์ (Compiler) แฟ้มส่วนหัว แฟ้ม .h Syntax Error Object Code แฟ้ม .obj ตัวเชิ่อม (Linker) คลังโปรแกรม Library Functions โมดูลอื่นที่แปลแล้ว (.obj) โปรแกรมที่ประมวลผลได้แฟ้ม .exe 2

การเขียนอัลกอริทึม อัลกอริทึม (Algorithm) วิธีเขียนอัลกอริทึม ขั้นตอนการแก้ปัญหา วิธีเขียนอัลกอริทึม ผังงาน (Flowchart) รหัสเทียม (Pseudo Code) 3

การเขียนผังงาน สัญลักษณ์ของผังงาน ลำดับ สัญลักษณ์ ชื่อสัญลักษณ์ หน้าที่การใช้งาน 1 Terminal Symbol เริ่มต้น - สิ้นสุดการทำงาน 2 Processing Symbol ประมวลผล เช่น การคำนวณ การกำหนดค่า 3 Decision Symbol แสดงการตัดสินใจ หรือเปรียบเทียบ 4 Input / Output Symbol รับ/แสดงผลข้อมูล โดยไม่ระบุอุปกรณ์ 5 Manual Input Symbol รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ 6 Display Symbol แสดงผลลัพธ์ทางจอภาพ 4

การเขียนผังงาน สัญลักษณ์ของผังงาน ลำดับ สัญลักษณ์ ชื่อสัญลักษณ์ หน้าที่การใช้งาน 7 Continuous Paper Symbol แสดงผลลัพธ์ทางเครื่องพิมพ์ทางกระดาษต่อเนื่อง 8 Connect Symbol จุดต่อเนื่องการทำงาน ต่อหน้าอื่น 9 จุดต่อเนื่องการทำงาน หน้าเดียวกัน 10 Preparation Symbol กำหนดค่าเริ่มต้นรอบวนซ้ำ 11 Subroutine Processing การทำงานย่อย 12 Flow Line เส้นทางกิจกรรมคำสั่ง 5

หลักการโครงสร้างควบคุม โครงสร้างลำดับ โครงสร้างการเลือก โครงสร้างการทำซ้ำหรือลูป (loop) 6

หลักการโครงสร้างควบคุม โครงสร้างลำดับ READ r Start End a = r*r*b PRINT “Area =”, a Set b = 3.14 กำหนดค่า อ่านข้อมูล คำนวณ แสดงผล 7

หลักการโครงสร้างควบคุม โครงสร้างการเลือก โครงสร้าง IF-ELSE READ x,y Start End a = y-x PRINT “A =”, a x > y True False 8 READ x,y Start End a = y-x PRINT “A =”, a x > y True False a = x-y โครงสร้าง IF

หลักการโครงสร้างควบคุม โครงสร้างการเลือก โครงสร้าง Switch-Case Start READ c switch c case 1 case 2 case 3 case 4 PRINT “A” PRINT “B” PRINT “C” PRINT “F” End 9

หลักการโครงสร้างควบคุม โครงสร้างการทำซ้ำหรือลูป (loop) โครงสร้าง WHILE โครงสร้าง DOWHILE โครงสร้าง For Set a = 1 Start End a = a+1 PRINT a While a<10 True False Set a = 1 Start End a = a+1 PRINT a while a<10 True False Set a = 1 Start End a = a+1 PRINT a For i =1 To 10 True False 10

การออกแบบบนลงล่าง (Top-Down Design) วิธีการออกแบบบนลงล่าง มีหลักการสำคัญ การแตกวิธีการปัญหาออกเป็นงานย่อย ๆ (Decomposition) การแก้ปัญหาทีละขั้นจากหยาบสุดไปจนถึงละเอียดที่สุด (Stepwise Refinement) 11

การออกแบบบนลงล่าง (Top-Down Design) วิธีการแตกปัญหาออกเป็นงานย่อย ๆ การกำหนดค่าเริ่มต้น (Initialization) การนำเข้าข้อมูล (Input) การคำนวณ และประมวลผล (Computation and processing) การแสดงผล (Output) การจบโปรแกรม (Closing) การจัดการข้อผิดพลาด (Error handling) 12

การออกแบบบนลงล่าง (Top-Down Design) วิธีการแตกปัญหาออกเป็นงานย่อย ๆ การกำหนดค่าเริ่มต้น (Initialization) Counter =1 Sum = 0 การนำเข้าข้อมูล (Input) READ N การคำนวณ และประมวลผล (Computation and processing) WHILE (Counter <=N) Sum = Sum + Counter Counter = Counter +1 ENDWHILE การแสดงผล (Output) PRINT “SUMMATION = ”, Sum การจบโปรแกรม (Closing) การจัดการข้อผิดพลาด (Error handling) 13

การออกแบบบนลงล่าง (Top-Down Design) การแก้ปัญหาทีละขั้นจากหยาบสุดไปจนถึงละเอียดที่สุด (Stepwise Refinement) พิจารณาในแต่ละงานย่อยว่ามีการแก้ปัญหาทีละขั้นอย่างไร แล้วค่อยปรับจนถึงขั้นที่ไม่สามารถแยกได้อีก แต่ละงานย่อย ต้องทราบว่ามีผลลัพธ์อะไร ข้อมูลนำเข้ามีอะไรบ้าง 14

การออกแบบโมดูลลาร์ หลักการออกแบบ การแตกปัญหาออกเป็นชิ้นเล็ก แล้วพิจารณาเพื่อแก้ปัญหาชิ้นเล็กๆ ทีละปัญหาอย่างเป็นอิสระต่อกัน เมื่อนำมาเขียนเป็นโปรแกรม กลุ่มของลำดับขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาชิ้นเล็ก ๆ นี้ เรียกว่า โมดูล หรือ โปรแกรมย่อย หรือ ฟังก์ชัน 15

การออกแบบโมดูลลาร์ คุณลักษณะของโมดูล ควรมีขนาดเล็ก ไม่เกิน 1 หรือ 2 หน้ากระดาษ การเข้าถึงแต่ละโมดูลควรมีการเข้าถึงเพียงจุดเดียว แต่ละโมดูลควรมีความอิสระ และสมบูรณ์แบบในตัว ไม่ขึ้นอยู่กับโมดูลอื่น การเปลี่ยนแปลงแต่ละโมดูล จะไม่มีผลกระทบต่อโมดูลอื่น แต่ละโมดูลควรมีหน้าที่เดียว ไม่ควรทำหลายหน้าที่ แต่ละโมดูลควรมีวิธีเรียกใช้ที่ชัดเจน เพื่อกำหนดข้อมูลเข้า และผลลัพธ์ที่ส่งคืนกลับไป ควรเรียกใช้โมดูลอื่น เท่าที่จำเป็น 16