บทที่ ๗ ศิลปะการควบคุมอารมณ์ อย่างมีเหตุผล
อารมณ์ คือ ปฏิกิริยาที่เรามีต่อการรับรู้ และต่อจากนั้นจะระบายสีแต่งแต้มและกำหนดการมองโลกของเรา อาจแบ่งได้เป็น ๒ ประเภท คือ ๑. อารมณ์ที่เป็นไปในทางยินดี ๒. อารมณ์ที่เป็นไปในทางที่ไม่ยินดี
พัฒนาการทางอารมณ์ ๑. ความสามารถในการร้องให้ ๒. เริ่มมีจุดหมาย ๓. เริ่มรู้จักแสดงความซับซ้อน ๔. เรียนรู้การควบคุม ๕. เรียนรู้การแยกแยะ
คือ สิ่งที่นำมาอ้างเพื่อยืนยันว่าข้อสรุปเป็นจริง เหตุผล คือ สิ่งที่นำมาอ้างเพื่อยืนยันว่าข้อสรุปเป็นจริง ตัวอย่าง “ นายพรศักดิ์คงต้อง F แน่ๆ เพราะเขาไม่เคยเข้าเรียนเลย ” ผู้ที่ไม่เคยเข้าเรียนปรัชญาทุกคนเป็นผู้ที่ต้องได้ F (ข้ออ้าง) นายพรศักดิ์เป็นผู้ไม่เคยเข้าเรียนปรัชญา (ข้ออ้าง) ดังนั้นนายพรศักดิ์ เป็นผู้ที่ต้องได้ F (ข้อสรุป)
การอ้างเหตุผล นิรนัย (DEDUCTION) อุปนัย (INDUCTION)
การอ้างเหตุผลที่ผิดพลาด ๑. การใช้ภาษาอย่างไม่รัดกุมในการอ้างเหตุผล ๒. สิ่งที่นำมาอ้างเป็นเหตุผลบกพร่อง ๓. วิธีการอ้างเหตุผลไม่ถูกต้อง ๔. การอ้างสิ่งที่ไม่ใช่เหตุผลมาเป็นเหตุผล
การอ้างเหตุผลแบบวางเงื่อนไข ๑. ถ้าฝนตก ดังนั้นถนนเปียก เมื่อวานมีฝนตก ดังนั้นเมื่อวานถนนต้องเปียก ๒. ถ้าฝนตก ดังนั้นถนนเปียก เมื่อวานไม่มีฝนตก ดังนั้นเมื่อวานถนนต้องไม่เปียก
๓. ถ้าฝนตก ดังนั้นถนนเปียก เมื่อวานถนนเปียก ดังนั้นเมื่อวานต้องมีฝนตก ๔. ถ้าฝนตก ดังนั้นถนนเปีย เมื่อวานถนนไม่เปียก ดังนั้นเมื่อวานต้องไม่มีฝนตก
การควบคุมอารมณ์อย่างมีเหตุผล วิธีจัดการกับความโกรธ ๑. ระบายออก ๒. ควบคุมเอาไว้ -โดยการทำงาน - ความรัก -โดยการทำลายข้าวของ - มองโลกในแง่ดี - โดยการเล่นกีฬา - ใช้หลักปรัชญา
เล่าจื้อแห่งลัทธิเต๋า “ทำร้ายคนอื่นเท่ากับทำร้ายตนเอง” ( ๔oo ปี ก่อน ค.ศ.) (๕๑๑ – ๔๗๙ ปีก่อน ค.ศ.) ขงจื้อ “อย่าทำกับผู้อื่นซึ่งท่านไม่อยากให้ผู้อื่นทำกับท่าน”
พระคริสตธรรมคัมภีร์ “ถ้าผู้ใดตบแก้มซ้ายของท่าน จงหันแก้มขวาให้เขาตบ” (๔ ปีก่อนค.ศ. - ค.ศ. ๓o)
พุทธธรรม “พึงชนะความโกรธด้วยความไม่โกรธ ความชั่วด้วยความดี ความเห็นแก่ตัวด้วยการให้และความเท็จด้วยความจริง” (๕๔๓ ปี ก่อน ค.ศ.)
จบแล้วจ้า!!!