พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ. ศ.2537 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น ดังต่อไปนี้ มาตราที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สิทธิที่จะรู้ ดร.นคร เสรีรักษ์.
Advertisements

ด.ญ.กชกร โชคเฉลิมวงศ์ เลขที่ 15 ป.4/3
กฎกระทรวง กำหนดค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับวัตถุอันตราย พ. ศ
การสร้างสื่อสิงพิมพ์ ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
บทที่ 3 การจัดทำกฎหมาย.
การยื่นคำขอจดสิทธิบัตร / อนุสิทธิบัตร
LA 102: Business Law สัญญาซื้อขาย.
โดย ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การกระทำความผิดเกี่ยวกับพรบ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
วิชาว่าความและ การถามพยาน
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
บทที่ 2 ขอบเขตการใช้กฎหมาย
4. โมฆกรรมและโมฆียกรรม (กลุ่มที่ 10).
เขตแดน และ เขตอำนาจรัฐ
การใช้งานลิขสิทธ์ ที่เป็นธรรม ในการเรียนการสอน
คำแนะนำในการตอบข้อสอบ
ความเป็นมา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
หนู...ไม่มีเอกสารทางทะเบียนราษฎรแล้วจะได้เรียนหนังสือไหมคะ?
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
พระราชบัญญัติการโฆษณา
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
การเก็บรวบรวมพยานหลักฐานดำเนินคดีฝ่าฝืนกฎหมายสุรา และยาสูบ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข เกี่ยวกับการกำหนดและจ่าย ค่าทดแทน (
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 3 สิงหาคม 2554.
กฎข้อบังคับสำหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ 37) พ. ศ
กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งการผลิตเพื่อขาย หรือนำเข้าเพื่อขายเครื่องสำอางควบคุม พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน 2553.
ประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดอัตราผลประโยชน์ตอบแทนเงินบำเหน็จชราภาพของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ประจำปี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4419 (พ. ศ
ระเบียบคณะกรรมการวัตถุอันตรายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเปรียบเทียบปรับตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4411 (พ. ศ
ระเบียบสำนักงานประกันสังคมว่าด้วยการรับสมัครและขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนตามมาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ (พ.ศ. 2554) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
สิทธิในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารราชการ
สิทธิที่จะรู้ ดร.นคร เสรีรักษ์.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
มติ ครม.19 มิถุนายน 2550 เห็นชอบ
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
กฎกระทรวงกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมการตรวจลงตราและค่าธรรมเนียมคำขออนุญาตเพื่ออยู่ในราชอาณาจักร เป็นการชั่วคราวต่อไปสำหรับคนต่างด้าวสัญชาติเมียนมาร์ ลาว และกัมพูชา.
สิทธิตามกฎหมายของประชาชน สิทธิตาม กฎหมาย บทบัญญัติและผู้เกี่ยวข้อง 1. สิทธิได้รู้ (Right to Know) 1.1 สิทธิได้รู้ตามมาตรา 7 ( เรื่องที่ต้องให้รู้ ) มาตรา.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
จริยธรรม และ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนงาน การสอบสวนคดีนอกราชอาณาจักร
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
นิติกรรม และ สัญญา บทนำ สิทธิและหน้าที่ สิทธิ มีความหมาย 2 นัย
บทที่ 3 กฎหมายและจริยธรรมที่ เกี่ยวข้อง รายวิชา การจัดการความปลอดภัยในระบบ คอมพิวเตอร์ อาจารย์พลอยพรรณ สอนสุวิทย์
 มาจากภาษาอังกฤษว่า Literature เช่นเดียวกับวรรณกรรม สำหรับใน ภาษาไทยนั้นมีการใช้คำว่า " วรรณคดี " ก่อนภายหลังจึงได้เกิดมีคำว่า " วรรณกรรม " ขึ้น  คำว่า.
ความหมายของการวิจารณ์
แนวทางการเปิดเผยข้อมูลรายละเอียดค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง และการคำนวณราคากลาง ของ ป.ป.ช.
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
มาตรา ๑๔๕๒ ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่ สมรสอยู่ไม่ได้
ศาลที่มีอำนาจชำระในคดีอาญา
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วัตถุประสงค์ในการตราพระราชกฤษฎีกานี้
คำชี้แจงกระทรวงแรงงาน เรื่อง พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 12 กันยายน 2554.
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศสำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเรื่อง กำหนดแบบคำ ขอรับใบอนุญาตและแบบใบอนุญาต การ แสดงเครื่องหมายมาตรฐานกับ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ. ศ.2537

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น ดังต่อไปนี้ มาตราที่ 1  พระราชบัญญัตินี้ เรียกว่า “ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ. ศ.2537 ”

มาตราที่ 2  พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับ เมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจา นุเบกษา เป็นต้นไป

มาตราที่ 3  ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ. ศ. 2521

มาตราที่ 4  ในพระราชบัญญัตินี้ได้ให้นิยามของคำต่างๆ ดังนี้ “ ผู้สร้างสรรค์ ” หมายถึง ผู้ทำหรือผู้ก่อให้เกิดงานสร้างสรรค์ อย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้

“ ลิขสิทธิ์ ” หมายถึง สิทธิแต่ เพียงผู้เดียวที่จะทำการใดๆ ตาม พระราชบัญญัตินี้เกี่ยวกับงานที่ผู้ สร้างสรรค์ได้ทำขึ้น

“ วรรณกรรม ” หมายถึง งานนิพนธ์ที่ทำขึ้นทุกชนิด เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ ปาฐกถา เทศนา คำปราศรัย สุนทรพจน์ และให้หมายความรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย

มาตราที่ 6  งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ ได้แก่ งานสร้างสรรค์ ประเภทวรรณกรรม นาฏกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หรืองานอื่น ในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ ของผู้ สร้างสรรค์ไม่ว่างานดังกล่าว จะแสดงออกโดยวิธีหรือรูปแบบอย่างใด

บทสรุป พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ. ศ. 2537

1. พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ. ศ ให้ความคุ้มครองลิขสิทธิ์ในงานสร้างสรรค์ ประเภทวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนศึกษา ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียง แพร่ภาพ หรืองานอื่นในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์หรือแผนกศิลปะของผู้สร้างสรรค์ ไม่ว่างานดังกล่าวจะ แสดงออกโดยวิธีหรือรูปแบบใด 2. เจ้าของลิขสิทธิ์ย่อมมีสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียวในการทำซ้ำหรือดัดแปลง เผยแพร่ ต่อสาธารณชน ให้เช่าต้นฉบับหรือสำเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ และสื่อบันทึกเสียง ให้ประโยชน์อันเกิดจากลิขสิทธิ์แก่ผู้อื่น และอนุญาติให้ผู้อื่นให้สิทธิดังกล่าวข้างต้นได้

3. อายุแห่งการคุ้มครองลิขสิทธิ์ ให้มีตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย 4. การละเมิดลิขสิทธิ์ ได้แก่การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ โดยมิได้อนุญาต ได้แก่ การทำซ้ำหรือดัดแปลง หรือการเผยแพร่ต่อสาธารณชน 5. ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ ได้แก่ การกระทำดังต่อไปนี้ คือ - ทำซ้ำ ดัดแปลง นำออกแสดงหรือทำให้ปรากฏขึ้น เพื่อประโยชน์ในการ พิจารณาของเจ้าพนักงานซึ่งมีอำนาจทางกฎหมาย - ทำซ้ำ ดัดแปลง นำออกแสดง หรือทำให้ปรากฏ เพื่อประโยชน์ของตนเอง - ติชม วิจารณ์ หรือแนะนำผลงานโดยมีการบัญญัติถึงความเป็นเจ้าของ ลิขสิทธิ์ในงานนั้น - เสนอรายงานข่าวทางสื่อสารมวลชน โดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของ ลิขสิทธิ์ในงานนั้น

คำ พิพากษาฎีกาที่ 954/2536 ความผิดตาม พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ. ศ มาตรา 27 คดีจะต้องได้ความว่างานที่เป็นลิขสิทธิ์ ของโจทก์ และจำเลยมีส่วน เกี่ยวข้อง เช่น ให้เช่า เสนอให้เช่า หรือนำออก โฆษณานั้น จะต้องเป็นงานที่ถูกทำซ้ำ หรือดัดแปลงโดยไม่ได้รับอนุญาตจากโจทก์ แต่ คดีนี้ไม่ได้ความว่าม้วนเทปของ กลางได้ถูกทำซ้ำ หรือดัดแปลงหรือไม่ ทั้งฏีกา โจทก์ก็มิได้ยืนยันความดังกล่าว กลับกล่าวอ้างว่าม้วนเทปของกลางเป็นลิขสิทธิ์ ของโจทก์ จำเลยนำให้เช่า เสนอให้ เช่า โดยไม่ได้รับอนุญาตเท่านั้น คดีนี้ต้องฟังว่า ม้วนเทปของกลางมิได้ถูกทำซ้ำ หรือดัดแปลง การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็น ความผิดตามมาตรา 27