พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ ออกกำลังกายในสถานประกอบการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
(Exercise for the Elderly)
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
โครงการ “ภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุง ”
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การออกกำลังกายในคนอ้วน
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
นพ.สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
องค์ประกอบที่ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร
องค์ประกอบที่ 5 และ 7.3 การส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ และผลลัพธ์การดำเนินงาน ตามเกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC)
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวทางการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง โรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ปี 2550 รัชนีกร กุญแจทอง นักวิชาการสาธารณสุข 7 ว. กลุ่มโรคไม่ติดต่อ.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
การวางแผน การวางแผน เป็นกระบวนการตัดสินหรือกำหนดกิจกรรมและการดำเนิน การเพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล.
โครงการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่4
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
งานวัยทำงาน กลุ่มเป้าหมาย พ่อ แม่ และประชาชนในวัยทำงาน
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
กลวิธีการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ ออกกำลังกายในสถานประกอบการ : กรณีศึกษา บริษัท เนสท์เล่ (ไทย) จำกัด สำนักงานใหญ่ Development of Physical Activity Promotion Model for Workplace Personnel : A Case Study of Nestle (Thai) Company Limited. ดรุณี อ้นขวัญเมือง นักวิชาการสาธารณสุข 7 กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 70% ประชากรโลกเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น หัวใจ มะเร็ง เบาหวาน ฯลฯ ตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือดโดยเฉลี่ย 30 คนต่อวัน และแนวโน้มตายสูงขึ้น มากกว่า 10 ล้านคนมีภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะเบาหวาน 3.2 ล้านคน (แสดงอาการแล้ว) ประมาณ 10 ล้านคนมีน้ำตาลในเลือดสูงแต่ยังไม่แสดงอาการ ประมาณ 15% มีภาวะไขมันในเลือดสูง 15% มีรอบเอวเกินมาตรฐาน เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 60% คนวัยทำงานเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย น้อยหรือไม่เคลื่อนไหวฯ คนไทย สาเหตุ ขาดการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย บริโภคอาหาร ไม่เหมาะสม

พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายในสถานประกอบการ วัตถุประสงค์หลัก พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายในสถานประกอบการ พัฒนาสถานประกอบการตัวอย่างในการดำเนินงานส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายสำหรับบุคลากร วัตถุประสงค์เฉพาะ ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายในสถานประกอบการ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมรรถภาพทางกาย สภาวะสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ และพฤติกรรมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายของบุคลากรในสถานประกอบการ

วิธีดำเนินการวิจัย รูปแบบการวิจัย : ใช้รูปแบบ Action Research กระบวนการวิจัย : 2 กระบวนการ - การสำรวจ (Survey Research) - การทดลองเพื่อประเมินประสิทธิผลของการทดลองรูปแบบการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย โดยใช้แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดี่ยว ด้วยการวัดก่อน-หลังการทดลอง (Pre-Post test One Group Design) ประชากร: บุคลากรของบริษัท เนสท์เล่ (ไทย) จำกัด สำนักงานใหญ่ จำนวน 608 คน กลุ่มตัวอย่าง : บุคลากรที่สมัครใจร่วมโครงการ จำนวน 166 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ชุดที่ 1 เครื่องมือใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ชุดที่ 2 เครื่องมือใช้ในการทดลอง 1. เครื่องมือใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3 ส่วน ก. แบบสำรวจสมรรถภาพทางกาย ด้วยการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประกอบด้วย แบบบันทึกผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ได้แก่ ส่วนสูง น้ำหนัก เส้นรอบเอว เส้นรอบสะโพก ดัชนีมวลกาย ความดันโลหิต อัตราเต้นหัวใจขณะพัก ความอดทนแข็งแรงของหัวใจ/ระบบไหลเวียนเลือด ความอดทนแข็งแรงของระบบกล้ามเนื้อ และความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อ ประเมินผลการทดสอบฯ ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปที่พัฒนาโดย กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (ต่อ) ข. แบบสำรวจสภาวะสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ประกอบด้วยข้อคำถาม 4 ข้อ ได้แก่ การมีโรคประจำตัว พฤติกรรมการสูบบุหรี่ พฤติกรรมการดื่มสุรา และพฤติกรรมการออกกำลังกาย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (ต่อ) ค. แบบสำรวจการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายในวิถีชีวิตประจำวัน ข้อคำถาม 7 ข้อ ได้แก่ เวลาที่เคลื่อนไหวออกแรงทั้งวัน บริบทการทำงาน การทำงานที่ต้องออกแรงอย่างหนัก การทำงานที่ต้องออกแรงปานกลาง การเดินเท้าหรือถีบจักรยาน การปฏิบัติกิจกรรมเวลาว่างที่ต้องออกแรงอย่างหนัก การปฏิบัติกิจกรรมเวลาว่างที่ต้องออกแรงปานกลาง สร้างและพัฒนาจาก Global Physical Activity Questionnaire (GPAQ) วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ตามแนวทางในการประมวลและวิเคราะห์ข้อมูลของ GPAQ

โปรแกรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (ต่อ) 2. เครื่องมือใช้ในการทดลอง โปรแกรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย โปรแกรมการถ่ายทอดองค์ความรู้ รูปแบบ วิธีการ การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย เป็นระยะ (ระดับบุคคล และระดับกลุ่ม) โปรแกรมเสริมทักษะการออกกำลังกายทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 09.00 – 12.00 น. ด้วยรูปแบบการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ แอโรบิก และ Body weight สถานประกอบการสนับสนุนสถานที่เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายทุกวันเวลา 17.30 – 19.00 น. ด้วยรูปแบบ การเต้นแอโรบิก โยคะ ไทเก็ก ฯลฯ - ภาครัฐสนับสนุนสื่อ สิ่งพิมพ์ โปสเตอร์ VCD ส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย เช่น การเดิน เดินขึ้นบันได ออกกำลังสะสม ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และ 5A day ฯลฯ

โปรแกรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย การเก็บรวบรวมข้อมูล และดำเนินการทดลอง พฤษภาคม 2549 ธันวาคม 2549 ทดลอง โปรแกรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย 6 เดือน เก็บข้อมูลก่อนทดลอง ทดสอบสมรรถภาพทางกาย สำรวจสภาวะสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ สำรวนการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายในวิถีชีวิตประจำวัน เก็บข้อมูลก่อนทดลอง ทดสอบสมรรถภาพทางกาย สำรวจสภาวะสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ สำรวจการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายในวิถีชีวิตประจำวัน

ระดับสมรรถภาพความดันโลหิต สรุปผลการวิจัย (ก่อน-หลังการทดลอง) การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ระดับสมรรถภาพหัวใจ ระดับสมรรถภาพความดันโลหิต

ระดับความอดทนแข็งแรงของหัวใจและปอด ระดับดัชนีมวลกาย ระดับความอดทนแข็งแรงของหัวใจและปอด

ระดับความอดทนแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ระดับความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อ

การสำรวจสภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ

การสำรวจสภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์

การสำรวจสภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ(ต่อ) พฤติกรรมการออกกำลังกาย ออกกำลังกายอย่างน้อย 3 วัน ๆ 30 นาที

จำนวนวัน/สัปดาห์ของการออกกำลังกาย จำนวนนาที/วันของ การออกกำลังกาย การสำรวจสภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ(ต่อ) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยจำนวนวัน-เวลา ของการออกกำลังกาย จำนวนวัน/สัปดาห์ของการออกกำลังกาย X S.D. t-value df p-value ก่อนการทดลอง .83 1.745 -8.571 629 .000 หลังการทดลอง 2.17 1.676 จำนวนนาที/วันของ การออกกำลังกาย X S.D. t-value df p-value ก่อนการทดลอง 15.37 31.37 -2.981 629 .003 หลังการทดลอง 23.55 27.39

การสำรวจการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายของบุคลากร PAปานกลาง = กิจกรรมที่ออกแรงพอประมาณ รู้สึกค่อนข้างเหนื่อย หายใจกระชั้นขึ้น ขณะออกแรงสามารถพูดคุยได้จบประโยค เกณฑ์ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน ๆ ละ 30 นาที PAหนัก = กิจกรรมที่ออกแรงมาก รู้สึกเหนื่อย เหนื่อยมาก หายใจเร็ว แรง หอบ ขณะออกแรงไม่สามารถพูดคุยได้จบประโยค ต้องหยุดหายใจและพูดต่อ เกณฑ์ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 20 นาที PA ครบเกณฑ์ภาพรวม ก่อนทดลอง = 42.10 หลังทดลอง = 60.30

การสำรวจสภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ(ต่อ) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย เวลา ของPA หนัก ในช่วงเวลาว่าง จำนวนนาที/วันของ การออกกำลังกาย X S.D. t-value df p-value ก่อนการทดลอง 0.61 1.943 -10.425 628 .000 หลังการทดลอง 13.13 25.699 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย เวลา ของPA ปานกลาง ในช่วงเวลาว่าง จำนวนนาที/วันของ การออกกำลังกาย X S.D. t-value df p-value ก่อนการทดลอง 2.05 2.655 -14.931 629 .000 หลังการทดลอง 22.72 29.567

 พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอร์มีผู้ไม่ดื่มเพิ่มมากขึ้น สรุป ผลการศึกษา ภายหลังการทดลอง ระดับสมรรถภาพทางกายของบุคลากรเปลี่ยนแปลงไปในทางดีขึ้น ทั้งสมรรถภาพความอดทนของหัวใจและปอด ความอดทนของกล้ามเนื้อ และความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อ ระดับสภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากรดีขึ้น โรคประจำตัวของบุคลากรมีจำนวนลดลง ภาวการณ์ไม่มีโรคเพิ่มขึ้น พฤติกรรมการสูบบุหรี่ ผู้ไม่สูบบุหรี่มีสัดส่วนเพิ่มมากขึ้น  พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอร์มีผู้ไม่ดื่มเพิ่มมากขึ้น พฤติกรรมการออกกำลังกาย มีผู้ที่ออกกำลังกายเป็นประจำเพิ่มขึ้น  ค่าเฉลี่ยของจำนวนวัน และเวลาในการออกกำลังกาย เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

พฤติกรรมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย ภายหลังการทดลอง  ระดับพฤติกรรมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายของบุคลากรเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการปฏิบัติกิจกรรมช่วงเวลาว่างที่ต้องออกแรงระดับหนัก และระดับปานกลางเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

อภิปรายผล ผลการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลา 6 เดือน เป็นตัวบ่งชี้ว่ารูปแบบที่พัฒนา เป็นรูปแบบที่สามารถส่งเสริมให้บุคลากรได้นำไปปฏิบัติในวิถีชีวิตประจำวัน โดยไม่จำเป็นต้องเป็นการออกกำลังที่เป็นรูปแบบยาก ใช้รูปแบบการออกแรงง่าย ๆ ในวิถีชีวิต เช่น การเดิน เดินขึ้นบันได ออกกำลังเป็นช่วง ๆ ฯลฯ ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางดีได้ ภาครัฐ ร่วมมือกับสถานประกอบการในการขับเคลื่อน ส่งเสริม สนับสนุน โดยภาครัฐให้องค์ความรู้ แนวคิด ข้อแนะนำ สถานประกอบการ เห็นความสำคัญ ดำเนินการภายใต้แนวคิดและขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง สถานประกอบการ ขับเคลื่อนกระบวนการได้เอง หรือจัดจ้างผู้เชี่ยวชาญดำเนินการภายใต้แนวทางของภาครัฐร่วมกับสถานประกอบการเอง

ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารองค์กร ควรให้ความสำคัญ สนับสนุน และส่งเสริมการดำเนินการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย ให้บุคลากร เช่น การส่งเสริมสนับสนุนสถานที่ เวลา วัสดุและอุปกรณ์ ฯลฯ โดยเฉพาะจัดตั้งทีมงานให้การสนับสนุน หรือเป็นผู้นำการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย หรือ จัดจ้างองค์กรที่มีความชำนาญเป็นผู้นำส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลัง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ ควรให้ความสำคัญต่อการเรียนรู้ สร้างความเข้าใจ และสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนเกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญของการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลัง

ข้อเสนอแนะ (ต่อ) มีการขยายองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายสำหรับบุคลากรในสถานประกอบการให้กว้างขวางและทั่วถึง โดยสามารถดำเนินการในรูปแบบของการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ถ่ายทอดกระบวนการ องค์ความรู้ ผ่านสื่อมวลชน เว็บไซด์ ฯลฯ ที่บุคลากรสามารถเข้าถึงได้ง่าย ควรมีการติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบทั้งในระยะสั้น และระยะยาว เพื่อค้นหาปัญหาอุปสรรค์ และนำผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุง พัฒนาการดำเนินงานให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

สวัสดี