ระบาดวิทยา (Epidemiology)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบาดวิทยาเพื่อการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
Advertisements

การดูแลระยะตั้งครรภ์
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สุขภาพสัตว์และการอนามัย
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
วิทยาการระบาด (EPIDEMIOLOGY)
วิธีการทางวิทยาการระบาด
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
อนามัยสิ่งแวดล้อม วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
ตัววัดความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆทางระบาดวิทยา
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
การใช้ระบาดวิทยา สำหรับผู้บริหาร
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
Tuberculosis วัณโรค.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
การวัดทางระบาดวิทยา น.ส.วิภาวี ธรรมจำรัส.
Introduction to Epidemiology
MOPH operation center MOPH operation center 20 May 2009.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
ระบาดวิทยา Epidemiology.
นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว?
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
หลักระบาดวิทยาสำหรับ ป.ตรี
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้
แนวคิดพื้นฐานทางระบาดวิทยา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุคนธา ศิริ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบาดวิทยา (Epidemiology) การจัดการความรู้ (Knowledge Management) ระบาดวิทยา (Epidemiology) นางน้ำผึ้ง รัตนพิบูลย์ วันที่ 19 พฤษภาคม 2554 กลุ่มพัฒนาความร่วมมือทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ

What is Epidemiology? The study of distribution and determinants of disease frequency in human population. (McMahon B., Pugh TF,1970) The study of the occurrence of disease in a human population . (CDC Center of Disease Control and prevention, 1978)

What is Epidemiology? The study of distribution and determinants of health-related states or events in specified population, and application of this study to control of health problems. (Last, 1988)

What is Epidemiology? Epidemiology is about the interplay And the interactions between human hosts, disease agents and their environments. It serves as a rationally logical foundation for public health and preventive medicine. South-East Asia Regional Conference on Epidemiology, 2010

รากศัพท์ของ “Epidemiology” มาจาก ภาษากรีก Epi = On, Upon ระบาดวิทยา คือ อะไร การศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของโรคและปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการกระจายของโรคในมนุษย์ รากศัพท์ของ “Epidemiology” มาจาก ภาษากรีก Epi = On, Upon Demos = People Logos = Knowledge http://www.health.nu.ac.th/epidemiology

ระบาดวิทยา คือ... ควบคุมโรค ประชากร การเกิดโรค การศึกษา สาเหตุ (หรือปัจจัยเสี่ยง) คืออะไร การกระจายของโรค: บุคคล เวลา สถานที่

วิวัฒนาการเกี่ยวกับความเข้าใจเกี่ยวกับโรค ต้นคริสศตวรรษที่ 19 Florence Nightingale และคณะ ได้ให้นิยามดังนี้ โรคเป็นภาวะของความไม่สมดุลย์ของร่างกาย เช่น การมีไข้ อาเจียร เหงื่อออก ท้องร่วง ฯลฯ การป้องกันโรคทำได้โดย การหลีกเลี่ยงสิ่งทีทำให้เกิดความไม่สมดุลย์ เช่น การอยู่ในที่ที่มีอากาศถ่ายเทดี มีน้ำสะอาด มีสุขาภิบาลดี และรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ การรักษาทำได้โดยการทำให้เหงื่อออก การทำให้อาเจียร การเอาเลือดที่เสียคั่งออกมา ต่อมากลางคริสศตวรรษที่ 19 Pierre Charles-Alexander Louis พบว่าการการเอาเลือดที่เสียคั่งออกมาไม่มีผลต่อการรักษา John Snow และคณะค้นพบว่าการระบาดของโรคอหิวาตกโรคเกิดจากดื่มน้ำที่ปนเปื้อนสิ่งปฏิกูล http://www.health.nu.ac.th/epidemiology

วิวัฒนาการเกี่ยวกับความเข้าใจเกี่ยวกับโรค (ต่อ) ปลายคริสศตวรรษที่ 19 Robert Koch และคณะ ค้นพบเชื้อ Tubercle bacillus และ เชื้ออื่นๆ ที่เป็นสาเหตุของโรค นอกจากนี้ยังพบเชื้อที่เป็นสาเหตุเฉพาะของโรคแต่ละโรค พบว่าการรักษาและป้องกันโรคทำได้โดยกำจัดสาเหตุของโรค สิ่งที่ยังไม่พบในยุคนี้คือ เพราะเหตุใดผู้ที่สัมผัสเชื้อบางคนจึงไม่เป็นโรค ยุคปัจจุบัน ค้นพบสาเหตุของโรค และเข้าใจธรรมชาติของโรคมากขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าการเกิดโรคบางโรคยังมีสาเหตุร่วมหลายประการ เช่น จากเชื้อโรคเอง จากพฤติกรรมของผู้ป่วย และจากสภาพสิ่งแวดล้อม http://www.health.nu.ac.th/epidemiology

ประโยชน์ของระบาดวิทยา บอกธรรมชาติของการเกิดโรค (National history of disease) หาสาเหตุของโรค (Causation) วัดสถานะสุขภาพและการเปลี่ยนแปลง (Description of health status and changing in time) ประเมินมาตรการ (Evaluation of health intervention) http://www.bmadcd.go.th/power%20point/BMA%20Principle%20of%20Epidemiology%20080624.ppt

องค์ประกอบในการเกิดโรค (Epidemiologic Triangles) Environment Agent Host ในภาวะที่มีความสมดุลระหว่างปัจจัยทั้งสามจะไม่มีโรคเกิดขึ้นในชุมชน (Stage of equilibrium) http://www.health.nu.ac.th/epidemiology

Host, Agent and Environment Genetic factors Personality Age Gender Race Immunities Behavior Lifestyle Infectious: bacteria viruses parasite Chemical: poisons allergens Physical: radiation Social: Social Economic Status Country of residence pollution (air, water) heat, cold light disaster http://www.health.nu.ac.th/epidemiology

ในภาวะที่ไม่มีความสมดุลระหว่างปัจจัยทั้งสาม จะมีโรคเกิดขึ้นในชุมชน (Stage of unequilibrium) Environment Agent Host ภาวะที่ไม่สมดุลนี้ อาจเกิดขึ้นเนื่องจาก สิ่งที่ทำให้เกิดโรคมีความสามารถในการแพร่กระจายโรคและทำให้เกิดโรคมากขึ้น สัดส่วนของคนที่มีความไวในการติดโรคเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะทารกและคนชรา การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมที่สนับสนุนให้มีการแพร่กระจายของโรค เช่น ในฤดูฝนทำให้ยุงลายเพิ่มจำนวน ไข้เลือดออกสูงขึ้น http://www.health.nu.ac.th/epidemiology

หลักการป้องกันและควบคุมโรค Environment Agent Host .การวินิจฉัยแต่แรกเริ่ม และรักษาทันที . การค้นหาและรักษาพาหะนำโรค . การควบคุมแหล่งแพร่เชื้อ .การส่งเสริมสุขภาพ โภชนาการ สุขศึกษา .การคุ้มกันเฉพาะ เช่น วัคซีน การควบคุมสิ่งแวดล้อม เช่น ขยะ น้ำเสีย สิ่งปฏิกูล สัตว์และแมลงที่เป็นพาหะนำโรค http://www.health.nu.ac.th/epidemiology

The Natural History of Disease ธรรมชาติการเกิดโรค The Natural History of Disease แบ่งออกได้เป็น 4 ระยะ คือ 1.ระยะมีความไวต่อการเกิดโรค (Stage of susceptibility) 2.ระยะก่อนมีอาการของโรค (Stage of preclinical disease) 3.ระยะมีอาการของโรค (Stage of clinical disease) 4.ระยะมีความพิการของโรค (Stage of disability) http://www.health.nu.ac.th/epidemiology

ทำไมต้องรู้ธรรมชาติการเกิดโรค ? เพื่อประโยชน์ในการป้องกันโรค เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยโรค และหาสาเหตุที่แท้จริง ของโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าโรคนั้นเป็นโรคที่มีระยะ ฟักตัวนาน (long latency) http://www.health.nu.ac.th/epidemiology

ธรรมชาติการเกิดโรค กำจัดปัจจัยเสี่ยงเพื่อลดผู้ป่วยรายใหม่ การป้องกันขั้น 1 (1o prevention) 1.ระยะมีความไวต่อการเกิดโรค (Stage of susceptibility) คนปกติมี risk แต่ไม่ป่วย คัดกรองรีบรักษาทันที เพื่อลดความรุนแรงและลดการดำเนินโรค 2.ระยะก่อนมีอาการของโรค (Stage of preclinical disease) การป้องกันขั้น 2 (2o prevention) มีพยาธิสภาพแต่ยังไม่มีอาการ 3.ระยะมีอาการของโรค (Stage of clinical disease) รักษาที่ถูกต้องและส่งต่อตามความเหมาะสม เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการ และทำให้ชีวิตที่เหลืออยู่มีคุณภาพ มีอาการของโรคเกิดขึ้น การป้องกันขั้น 3 (3o prevention) 4.ระยะมีความพิการ (Stage of disability) หาย หรือ มีความพิการ หลงเหลืออยู่ http://www.bmadcd.go.th/power%20point/BMA%20Principle%20of%20Epidemiology% 20080624.ppt

นิยามศัพท์ อุบัติการณ์ incidence – ผู้ป่วยรายใหม่ ความชุก prevalence – ผู้ที่กำลังป่วย(รวมรายใหม่ และ รายเก่าที่ยังไม่หาย) ป่วยรายใหม่ incidence Prevalence ตาย หาย http://thaibod.net/documents/Epidemiological_Approach.ppt

นิยามศัพท์ Endemic (โรคประจำถิ่น) โรคที่พบการระบาดได้ตามความคาดหมายในกลุ่มประชากร “Background” level จำนวนคาดการณ์ผู้เสียชีวิตในแต่ละปี Cécile Viboud, et al. Emerg Infect Dis [serial on the Internet]. 2006 Apr. Available from http://www.cdc.gov/ncidod/EID/vol12no04/05-0695-G2.htm

Epidemic เมื่อพบผู้ป่วยหรือการระบาดมากกว่าความคาดหมาย (มากกว่าปรกติ) Pandemic เมื่อพบการระบาดในวงกว้างทางภูมิศาสตร์ หรือ ทั่วโลก

Number of Cases of a Disease Endemic vs Epidemic Number of Cases of a Disease Endemic Epidemic Time http://dpc2.ddc.moph.go.th/phpinfoboard3/data/2/pic/7.ppt

การวัดทางระบาดวิทยา Ratio : ตัวตั้งไม่จำเป็นต้องเป็นส่วนหนึ่งของตัวหาร Proportion : เปรียบเทียบจำนวนย่อยกับจำนวน รวมทั้งหมด Rate : มีเวลาเกี่ยวข้อง http://www.bmadcd.go.th/power%20point/BMA%20Principle%20of%20Epidemiology%20080624.ppt

อัตราส่วน Ratio a/b เป็นการเปรียบเทียบค่าตัวเลขของจำนวนหนึ่งกับอีกจำนวนหนึ่ง โดยตัวตั้งไม่ได้มาจากตัวหาร http://dpc2.ddc.moph.go.th/phpinfoboard3/data/2/pic/7.ppt

สัดส่วน Proportion ผู้ป่วยโรคมะเร็งปอด 5 รายต่อประชากร 100 คน x/x+y+…..X 100 เป็นการเปรียบเทียบระหว่างตัวตั้งซึ่งเป็นจำนวนหนึ่งของตัวหาร กับตัวหารซึ่งเป็นจำนวนรวมทั้งหมด มักนิยมแปลงเป็นรูปร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ http://dpc2.ddc.moph.go.th/phpinfoboard3/data/2/pic/7.ppt

อัตรา Rate a/(a+b) X k การเปรียบเทียบจำนวนความถี่ของโรคหรือลักษณะบางอย่างต่อหน่วยประชากรที่เฝ้าสังเกต http://dpc2.ddc.moph.go.th/phpinfoboard3/data/2/pic/7.ppt

การวัดทางระบาดวิทยา ความชุก (Prevalence) : จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่มีอยู่ (เก่าและใหม่) ในระยะเวลาที่กำหนด อุบัติการณ์ (Incidence) : จำนวนผู้ป่วยใหม่ที่เกิดขึ้นในระยะเวลาที่กำหนด http://www.bmadcd.go.th/power%20point/BMA%20Principle%20of%20Epidemiology%20080624.ppt

ความชุก (Prevalence) จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่มีอยู่ในระยะเวลาที่กำหนด จำนวนประชากรทั้งหมด จำนวนประชากร 1000 คน 2552 2553 ความชุก = x 1000 = 8 ต่อประชากรพันคน 8 1000 http://www.bmadcd.go.th/power%20point/BMA%20Principle%20of%20Epidemiology%20080624.ppt

อุบัติการณ์ (Incidence) จำนวนผู้ป่วยใหม่ที่เกิดขึ้นในระยะเวลาที่กำหนด จำนวนผู้ป่วยใหม่ที่เกิดขึ้น จำนวนประชากรที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค จำนวนประชากร 1000 คน 2552 2553 อุบัติการณ์ = x 1000 = 5 ต่อประชากรพันคน 5 1000 http://www.bmadcd.go.th/power%20point/BMA%20Principle%20of%20Epidemiology%20080624.ppt

สวัสดี