ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
อายุเฉลี่ยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของนักเรียนอาชีวศึกษาชั้น ปวช
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์ ปี
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
น.พ.อมร นนทสุต.
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
13/12/2007แผนยุทธศาสตร์ประจำปี 2551 โรงพยาบาลหนองม่วง 2 จำนวนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่อายุต่ำกว่า 20 ปีเพิ่มขึ้น ปี 2549 มีจำนวน 41 คน ปี 2550 มีจำนวน.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ไพรินทร์ บุตรแสนลี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
โครงการสำคัญตามนโยบาย
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
เป้าหมายการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปี 2547 ตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ หลัก 8. ระดับ ความสำเร็จของ การจัดทำ ทะเบียนเพื่อ แก้ไขปัญหา.
ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสำนักฯ/สถาบัน/สคร.ฯ
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
สกลนครโมเดล.
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
วัยรุ่น และ...วัยเรียน นพ.บุญฤทธิ์ สุขรัตน์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์

สถานการณ์อนามัยวัยรุ่น

อายุเฉลี่ยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก แหล่งข้อมูล อายุเฉลี่ย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2539 18 – 19 ปี สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย พ.ศ. 2545 15 – 16 ปี เอแบคโพลล์ พ.ศ. 2547

ร้อยละของวัยรุ่นที่มีเพศสัมพันธ์แล้ว แหล่งข้อมูล ร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์ ร้อยละของการไม่ป้องกัน คณะแพทย์โรงพยาบาลรามาธิบดี (ม. 1 - ม. 6, 2544) 10 7.1 สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย (ม.ปลาย /ปวช. 2545) 21.6 33.2 เอแบคโพลล์ (ม.ปลาย / ปวช. 2547) 42.4 - อนามัยโพลล์ (อุดมศึกษา, 2550) 36

ร้อยละของนักเรียนเคยมีเพศสัมพันธ์ กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 2547 2548 2549 2550 2551 1.นักเรียน ม.2 เพศชาย เพศหญิง 3.6 1.1 2.9 2.0 2.9 1.5 3.2 1.9 3.7 2.3 2. นักเรียน ม.5 เพศชาย เพศหญิง 17.8 5.0 17.7 8.7 21.0 12.2 21.2 12.9 24.1 14.7 3.นักเรียน ปวช.ชั้นปีที่ 2 เพศชาย เพศหญิง 32.0 21.2 37.5 29.7 36.2 28.2 40.2 34.1 43.3 36.5 ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2551

อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่น อายุ 10-24 ปี อัตรา: ประชากรแสนคน พ.ศ. สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค

ร้อยละของแม่คลอดบุตรอายุ 10-19 ปี พ.ศ. 2547-2552 ที่มาโดยการสนับสนุนข้อมูลจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข จัดทำข้อมูลโดย สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (การคำนวณร้อยละของแม่คลอดบุตรอายุ 10-19 ปี = จำนวนแม่คลอดบุตรในช่วงอายุนั้น x 100) จำนวนแม่คลอดบุตรทั้งหมด 7

การทำแท้งในวัยรุ่น - ร้อยละ 29.3 อายุต่ำกว่า 20 ปี - ร้อยละ 29.3 อายุต่ำกว่า 20 ปี - ร้อยละ 61.3 อายุต่ำกว่า 25 ปี - ร้อยละ 24.7 มีสถานภาพนักเรียน นักศึกษา ที่มา: กองอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย, 2542

อัตราตายจากการทำแท้ง 300 : 100,000 (ทำแท้ง 100,000 คน มีโอกาสตาย 300 คน) อัตราตายจากสาเหตุอื่นขณะตั้งครรภ์ 20 : 100,000 เกิดมีชีพ

แผนการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

แนวคิดการดำเนินงานการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ผลลัพธ์ พฤติกรรม แนวทางแก้ไข การชะลอการมีเพศสัมพันธ์ (Delay Sex) การมีเพศสัมพันธ์ที่ ปลอดภัย ( Safe Sex) การลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (Teenage Pregnancy) - มีทักษะชีวิตเรื่องเพศ รู้คุณค่าในตนเอง/ให้เกียรติ สตรี - ใช้วิธีคุมกำเนิดอย่าง เหมาะสม - ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อ มีเพศสัมพันธ์ - ใช้บริการการให้คำปรึกษา และใช้บริการวางแผน ครอบครัว แท้งที่ปลอดภัย 1. สถานศึกษา - พัฒนาหลักสูตรการเรียนเพศศึกษา อย่างรอบด้าน - พัฒนาโรงเรียนตามเกณฑ์อนามัย การเจริญพันธุ์ - Friend Corner 2. หน่วยบริการสาธารณสุข - คลินิกบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับ วัยรุ่น - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 3.ครอบครัว/ชุมชน -จัดทำแผนบูรณาการระดับจังหวัด/ อปท. - สร้างครอบครัวอบอุ่นอนามัย การเจริญพันธุ์ - พัฒนาแกนนำวัยรุ่น/สภาเด็กฯ - พัฒนาคู่มือ อสม. - พัฒนาสื่อมวลชน

แนวทางการดำเนินงาน 1. สถานศึกษา - พัฒนาหลักสูตรการเรียนเพศศึกษาอย่างรอบด้าน - พัฒนาโรงเรียนตามเกณฑ์อนามัยการเจริญพันธุ์ - Friend Corner 2. หน่วยบริการสาธารณสุข - คลินิกบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 3. ครอบครัว/ชุมชน - จัดทำแผนบูรณาการระดับจังหวัด - สร้างครอบครัวอบอุ่น - พัฒนาแกนนำวัยรุ่น/สภาเด็ก - พัฒนาคู่มือแกนนำวัยรุ่น/ พ่อ-แม่/ ผู้ปกครอง/อสม.

โครงการวัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดี มีอนาคต 1.1 โครงการสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีและเครือข่ายระดับ จังหวัด ในการพัฒนาแผนสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ ในวัยรุ่น วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมภาคีและเครือข่ายระดับจังหวัดร่วมกันจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น 2) เพื่อสนับสนุนให้ภาคีและเครือข่ายร่วมกันส่งเสริม และป้องกันปัญหาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นอย่างยั่งยืน

โครงการวัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดี มีอนาคต (ต่อ) ผลการดำเนินงาน ปี 2553 สสจ.สนับสนุนการดำเนินงานโครงการ จำนวน 15 จังหวัด ได้แก่จังหวัดสุพรรณบุรี ลพบุรี มหาสารคาม พระนครศรีอยุธยา ระยอง สระแก้ว สมุทรสงคราม ชัยภูมิ ขอนแก่น สกลนคร อุทัยธานี พิจิตร ลำปาง สุราษฎร์ธานี และจังหวัดยะลา แผนการดำเนินงานปี 2554 จำนวน 36 จังหวัด (ศูนย์อนามัยละ 3 จังหวัด)

1.2 โครงการส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่น วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้โรงพยาบาลจัดบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น ผลการดำเนินงาน ปี 2553 เน้นการพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการวัยรุ่นของโรงพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 18 จังหวัดได้แก่ จังหวัดลพบุรี ระยอง สระแก้ว สมุทรสงคราม ประจวบคีรีขันธ์ นครปฐม สมุทรสาคร เพชรบุรี กาญจนบุรี ชัยภูมิ ขอนแก่น อุทัยธานี พิจิตร เพชรบูรณ์ เชียงใหม่ ลำปาง สุราษฎร์ธานี และจังหวัดยะลา

แผนดำเนินงานปี 2554 - สสจ. สนับสนุนการจัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น จำนวน 36 จังหวัด - สถานบริการของรัฐจัดบริการสุขภาพและอนามัย การเจริญพันธุ์อย่างน้อย 300 แห่ง

โครงการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังการแท้งในประเทศไทย ผลการดำเนินงานปี 2553 ประชุมพัฒนาเครื่องมือการจัดเก็บข้อมูล แผนการดำเนินงานปี 2554 - อบรมผู้จัดเก็บข้อมูล - จัดเก็บข้อมูล

ตัวชี้วัด 1. หน่วยงานระดับจังหวัดมีการจัดทำและนำแผนยุทธศาสตร์อนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นไปสู่การปฏิบัติ 2. หน่วยงานภาครัฐ (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด) สนับสนุนการ จัดบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน 3. สถานบริการภาครัฐจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น และเยาวชน 4. สถานบริการภาครัฐผ่านการรับรองมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็น มิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน