การขับเคลื่อนโครงการคนไทยไร้พุง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
สถานการณ์ด้านสังคมและสุขภาพ ที่ต้องเจอ
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
ผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกาย
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สกลนครโมเดล.
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
วันรับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติประจำปี 2553 ณ หอประชุมเจ้าพระยา กองทัพเรือ กรุงเทพฯ วันที่ 24 มิถุนายน 2553.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนโครงการคนไทยไร้พุง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี จังหวัดอ่างทอง ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี

สภาพปัญหา พฤติกรรม โรคเรื้อรัง - อ้วน - เบาหวาน - ออกกำลังกาย - อ้วน - ออกกำลังกาย โรคเรื้อรัง - เบาหวาน - ความดันโลหิตสูง - หัวใจหลอดเลือด สาเหตุ

ยุทธศาสตร์การสาธารณสุข จ.อ่างทอง นำสู่ ยุทธศาสตร์การสาธารณสุข จ.อ่างทอง 1. การบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ 2. การสร้างเอกภาพและธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ 3. การพัฒนาสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ และการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ 4. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน 5. การสร้างสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี 6. การสร้างระบบสุขภาพ ชุมชนให้เข้มแข็ง

กรอบการดำเนินงาน INPUT PROCESS OUTPUT  บุคลากร  ลดโรค  ลดอ้วน  งบประมาณ - สสจ. - สสส. - สปสช. - ท้องถิ่น  บุคลากร - วิทยากร  1.เฝ้าระวัง  2.ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม - กลุ่มปกติ - กลุ่มเสี่ยง - กลุ่มอ้วนลงพุง  3.สร้างกระแสรณรงค์  4.เครือข่าย  ลดโรค  ลดอ้วน  ลดพุง

กลยุทธ์ : 1.เฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุง ปี 2550 เฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุงในหน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ชมรมสร้างสุขภาพ - หน่วยงานราชการ เกินเกณฑ์ 32.02 % - นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เกินเกณฑ์ 12.74 % - ชมรมสร้างสุขภาพ เกินเกณฑ์ 25.55 % ปี 2551 เฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุงในหน่วยงานราชการ โรงเรียน ชมรมสร้างสุขภาพ และประชาชน ครอบคลุมทั้งจังหวัด

กลยุทธ์ : 2.สร้างกระแสการรณรงค์ เปิดตัวโครงการรณรงค์ “คนชะไว ไร้พุง” โดยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง สาธารณสุข (นพ.มรกต กรเกษม) วันที่ 8 มิถุนายน 2550 ณ มัสยิดอัลยุสรอสามัคคี ต.ชะไว อ.ไชโย

เปิดตัวโครงการคนไทยไร้พุงจังหวัดอ่างทอง โดยวัดรอบเอวผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง และหัวหน้าส่วนราชการในจังหวัด เมื่อวันที่ 30 ส.ค. 50

สร้างวัฒนธรรมสุขภาพพอเพียง จัดงาน สร้างวัฒนธรรมสุขภาพพอเพียง สู่สังคมสุขภาวะอย่างยั่งยืน เทิดไท้องค์ราชัน

โครงการจังหวัดอ่างทอง ไร้พุง ถวายพ่อหลวง พ.ศ.2551 – 2552 จัดงานวันที่ 14 มี.ค. 51 ผู้ร่วมงานประมาณ 600 คน กิจกรรม - ประกาศนโยบายระดับจังหวัดร่วมกับ กระทรวงโดยรัฐมนตรีว่าการฯ - ลงนามความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่าย เพื่อการป้องกันโรคอ้วนลงพุง

การประกาศนโยบาย “ คนไทย ไร้พุง ” จังหวัดอ่างทอง โดย รมว การประกาศนโยบาย “ คนไทย ไร้พุง ” จังหวัดอ่างทอง โดย รมว.กระทรวงสาธารณสุข นายไชยา สะสมทรัพย์ 14 มีนาคม 2551

ตั้งเป้าลดอ้วน 3 ล้านคน เผยหญิงอ้วนกว่าชาย 3 เท่า “ไชยา” ออกนโยบายเร่งลดภัยจากโรคอ้วน ให้ทุกจังหวัดทำองค์กรต้นแบบไร้พุง ในปี 2551 นี้ มุ่งลดอ้วนให้ได้ 3 ล้านคน เริ่มที่อ่างทองเป็นแห่งแรก เผยรอบ 5 ปี พิษความอ้วนทำให้คนไทยป่วยเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน มะเร็ง สูงขึ้นกว่า 2 เท่าตัว ในปี 2549 มีคนไทยเสียชีวิตจาก 3 โรคนี้เกือบ 1 แสนราย เฉลี่ย 1 รายทุก 6 นาที ขณะนี้มีคนอ้วนลงพุงมากถึง 17 ล้านคน ผู้หญิงอ้วนมากกว่าชาย 3 เท่าตัว แหล่งข่าว : หนังสือพิมพ์ ผู้จัดการ โพสต์เมื่อ : 2008-03-15

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ภายหลังตรวจสุขภาพประจำปี กลยุทธ์ : 3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และแก้ไขอ้วนลงพุง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และกลุ่มข้าราชการ ภายหลังตรวจสุขภาพประจำปี โดยโรงพยาบาลทุกแห่ง

ส่งบุคลากรทีมโรงพยาบาลแสวงหาที่อ้วนลงพุง จำนวน 6 คน เข้าร่วมกิจกรรม “ค่ายพิชิตอ้วน พิชิตพุง” ซึ่งจัดโดยกรมอนามัย ร่วมกับ บริษัท อสมท.จำกัด (มหาชน) ระหว่างวันที่ 29 มิ.ย. – 1 ก.ค. 50 ภายหลังการเข้าค่าย 2 เดือน ทีมได้รับการคัดเลือกเป็น “The Winner คนไทยไร้พุง คนต้นแบบชุดแรกของ ประเทศไทย”

จัดค่าย “พิชิตอ้วน พิชิตพุง” ระหว่างวันที่ 17 – 19 กันยายน 50 ณ โรงแรมสีดา รีสอร์ท จังหวัดนครนายก จำนวน 75 คน ประกอบด้วย - จนท.สาธารณสุขที่อ้วนลงพุง 40 คน - อสม.ที่อ้วนลงพุง 35 คน

การประเมินผล น้ำหนัก รอบพุง จำนวน ร้อยละ ลดลง 68 90.7 เท่าเดิม 1 1.3 เพิ่มขึ้น 6 8.0 รวม 75 100 จำนวน ร้อยละ ลดลง 72 96.0 เท่าเดิม 2 2.7 เพิ่มขึ้น 1 1.3 รวม 75 100 ลดลงมากที่สุด 18 กก. เพิ่มมากที่สุด 1.6 กก. ลดลงเฉลี่ย 4.4 กก. ลดลงมากที่สุด 22 ซ.ม. เพิ่มมากที่สุด 1 ซ.ม. ลดลงเฉลี่ย 8.6 ซ.ม.

โครงการข้าราชการต้นแบบ “พิชิตอ้วน พิชิตพุง” ข้าราชการระดับจังหวัด ที่มีรอบพุงมากเกินเกณฑ์ จำนวน 60 คน เข้าค่ายลดอ้วนลดพุง วันที่ 7 - 9 พฤศจิกายน 2550 ณ โรงแรมภูเขางาม รีสอร์ท จังหวัดนครนายก

การประเมินผล น้ำหนัก รอบพุง จำนวน ร้อยละ ลดลง 49 90.7 เท่าเดิม - เพิ่มขึ้น 5 9.3 รวม 54 100 จำนวน ร้อยละ ลดลง 53 98.2 เท่าเดิม - เพิ่มขึ้น 1 1.8 รวม 54 100 ลดลงมากที่สุด 16.2 กก. เพิ่มมากที่สุด 0.8 กก. ลดลงเฉลี่ย 2.9 กก. ลดลงมากที่สุด 22 ซ.ม. เพิ่มมากที่สุด 2 ซ.ม. ลดลงเฉลี่ย 7.7 ซ.ม.

โครงการลดพุง 80 ราย ถวายพ่อหลวง ภายใต้โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อพ่อ ระดับจังหวัด ระยะที่ 1 อ.วิเศษชัยชาญ 40 ราย อ.ป่าโมก 40 ราย

โดย ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ การวิเคราะห์ต้นทุน - ประสิทธิผล กรณีศึกษา โครงการลดพุง 80 ราย ถวายพ่อหลวง จังหวัดอ่างทอง โดย ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ

ผลการศึกษา ต้นทุนเฉลี่ยต่อคนที่ลดน้ำหนักได้ โปรแกรมลดน้ำหนักแบบเข้าค่ายมีต้นทุน 4192 บาท สูงกว่าโปรแกรมกรมอนามัยที่มีต้นทุน 3310 บาท อยู่ 891 บาทต่อราย โดยมีต้นทุนประสิทธิผลสูงกว่า 1121 บาทต่อราย

กลยุทธ์ : 4.พัฒนาบุคลากร พัฒนาโรงพยาบาลแม่ข่ายฝ่าวิกฤตพิชิตอ้วน พิชิตพุง เพื่อพัฒนาให้เกิดโรงพยาบาลแม่ข่ายที่มีศักยภาพในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ที่ถูกต้องแก่บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนในชุมชน รวมทั้งแก้ปัญหาที่เกิดจากภาวะอ้วนลงพุงอย่างมีประสิทธิภาพ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2550 กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข จำนวน 110 คน

จัดอบรมวิทยากร ค่ายพิชิตอ้วน พิชิตพุง เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ และทักษะในการเป็นวิทยากรแก้ไขภาวะอ้วนลงพุง วันที่ 25 – 26 มี.ค. 51 ทีมวิทยากร อำเภอละ 10 คน รวม 70 คน

แผนการดำเนินงาน ในระยะต่อไป

โครงการคนอ่างทองรุ่นใหม่ ไร้อ้วน ไร้พุง จัดค่ายพิชิตอ้วน พิชิตพุง ในประชาชนที่อ้วนลงพุง หมู่บ้าน/ชุมชนละ 3 คน รวม 1,600 คน ผลักดันให้ท้องถิ่นเป็นเจ้าภาพในการดำเนินงาน ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

สวัสดี