กรมอนามัย กับ ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
คำอธิบาย วัตถุประสงค์ เพื่อผลักดันให้เกิดความสำเร็จของตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายดังนี้ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ตัวชี้วัดโครงการพระราชดำริและเฉลิมพระเกียรติ
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
ตัวชี้วัดตามแผนงานงบประมาณ
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
ปี2554 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน % มัธยฐาน ไมโครกรัมต่อลิตร สสจ. อุดรธานี ; 2554,2555 ผลการตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ไอโอดีนมีอยู่ทุกที่ ดูให้ดี กินให้เป็น
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรมอนามัย กับ ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ ระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2550

เป้าหมายการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง ประจำปี 2550 นโยบายกระทรวง 10 ข้อ 40 โครงการ แผนการตรวจราชการและนิเทศงาน 12 เรื่อง คำรับรองการปฏิบัติราชการกับ ก.พ.ร. 76 ตัวชี้วัด

แผนการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง ปี 2550 12. วัฒนธรรมองค์กรและ ธรรมาภิบาล 11. ลดปัญหาสุขภาพด้านอบายมุข 1. พระราชดำริ เฉลิมพระเกียรติ 10. แพทย์แผนไทย แพทย์ทางเลือก และธุรกิจบริการ 2. แก้ปัญหาความไม่สงบภาคใต้ แผนการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง ปี 2550 3. พัฒนาคุณภาพการบริการ และการบริหารการเงินการคลัง 9. การจัดการความรู้และสร้างเสริมสุขภาพ 4. ระดมศักยภาพภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ 8. ควบคุมป้องกันโรค ไม่ติดต่อ 5. พัฒนาความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมภาคประชาชน 7. ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ 6. โครงสร้างพื้นฐานระบบบริการสุขภาพ

1. พระราชดำริ เฉลิมพระเกียรติ 1. ฟันเทียมพระราชทาน 2. การควบคุม/ป้องกันการขาดสารไอโอดีน งาน กรมอนามัย ในแผนการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง ปี 2550 2. แก้ปัญหาความไม่สงบภาคใต้ 1. การพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก 1. การสนับสนุนและพัฒนาความเข้มแข็งและ การมีส่วนร่วมขบวนการสุขภาพภาค ปชช. 2. การพัฒนาส้วมสาธารณะ 3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 4. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 5. พัฒนาความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมภาคประชาชน 7. ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ การควบคุมและป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก 8. ควบคุมป้องกันโรค ไม่ติดต่อ 1. การเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านม 2. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 3. การตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ 9. การจัดการความรู้และสร้างเสริมสุขภาพ 1. อาหารปลอดภัย 2. การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก

โครงการตามพระราชดำริ เฉลิมพระเกียรติ อันเกี่ยวเนื่องกับพระบรมวงศานุวงศ์ 1. โครงการฟันเทียมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ ตัวชี้วัดและเป้าหมาย 1) ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่ได้รับบริการใส่ฟันเทียมตามเป้าหมายที่กำหนด 2. โครงการควบคุม/ป้องกันการขาดสารไอโอดีน 1) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของครัวเรือนที่ใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ (ไอโอดีน 30 ppm.) 2) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของสถานที่ผลิตเกลือบริโภคที่มีการผลิตเกลือเสริม ไอโอดีนมีคุณภาพ 3) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเด็กแรกเกิดอายุ 2 วันขึ้นไปมีปริมาณ TSH ในเลือด จากการเจาะเลือดส้นเท้าน้อยกว่า 5 มล.ยูนิต/ลิตร

แก้ปัญหาความไม่สงบ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ แก้ปัญหาความไม่สงบ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 1. พัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก ตัวชี้วัดและเป้าหมาย 1. อัตราตายของมารดา ไม่เกิน 36 ต่อแสนการเกิดมีชีพ 2. อัตราตายปริกำเนิดของทารก ไม่เกิน 15 ต่อพันการเกิด 3. อัตราหญิงมีครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 4. อัตราการฝากครรภ์ครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 5. อัตราการคลอดในสถานบริการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95

พัฒนาความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของขบวนการสุขภาพภาคประชาชน 1. โครงการสนับสนุนและพัฒนาความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของขบวนการ สุขภาพภาคประชาชน ตัวชี้วัดและเป้าหมาย : 1) ร้อยละ 80 ของชมรมสร้างสุขภาพ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับมัธยมศึกษาในเขตเมืองและ หน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคระดับจังหวัดในอำเภอเมือง ดำเนินกิจกรรมวัดรอบเอว ปีละ 2 ครั้ว 2. โครงการพัฒนาส้วมสาธารณะ 1) ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายมีส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน HAS ผ่านเกณฑ์ครบทั้ง 16 ข้อ 3. โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 1) ร้อยละ 86 ของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านการประเมินและรับรองตามกระบวนการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 4. โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 1) ร้อยละ 80 ของโรงเรียนทุกสังกัดผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ โครงการควบคุมและป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก ตัวชี้วัดและเป้าหมาย : 1) ร้อยละ 95 ของหญิงคลอดที่ติดเชื้อ HIV ได้รับยาต้านไวรัสเอดส์ขณะตั้งครรภ์ 2) ร้อยละ 70 ของเด็กอายุ 18 – 24 เดือน ที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ HIV ได้รับการ ตรวจ เลือด HIV

ควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ 1. โครงการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านม ตัวชี้วัดและเป้าหมาย : 1) ร้อยละ 40 ของสตรีอายุ 35 ปีขึ้นไปผ่านการประเมินทักษะการตรวจมะเร็ง เต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องจากเจ้าหน้าที่ 2. โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ตัวชี้วัดและเป้าหมาย : 1) ร้อยละ 10 ของสตรีอายุ 30 – 45 ปี ในพื้นที่เป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี VIA 3. โครงการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ 1) ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจคัดกรอง ธาลัสซีเมีย

ส่งเสริมพัฒนาการจัดการความรู้ด้านสุขภาพ และสร้างเสริมสุขภาพ ส่งเสริมพัฒนาการจัดการความรู้ด้านสุขภาพ และสร้างเสริมสุขภาพ 1. โครงการอาหารปลอดภัย ตัวชี้วัดและเป้าหมาย : 1) ร้อยละ 65 ของร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน 2) ร้อยละ 60 ของตลาดสดประเภทที่ 1 ได้มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ 2. การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก ตัวชี้วัดและเป้าหมาย : 1) ร้อยละ 100 ของมารดาและทารกที่เสียชีวิตตามเกณฑ์ ได้รับการตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูลและดำเนินการแก้ไขสาเหตุ โดย MCH Board ของจังหวัด 2) ร้อยละ 100 ของตำบลที่มีครอบครัวผ่านเกณฑ์พื้นฐานครอบครัวแข็งแรงไม่น้อยกว่า 80 ครอบครัว

ประเด็นการประชุม สิ่งที่คณะผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขพบเห็นจากพื้นที่ 2. ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนางาน ของกรมอนามัย 3. ประเด็นฝากจากกรมอนามัย

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณที่จัดสรรให้หน่วยงานอื่นเบิกแทน หน่วยเบิกแทน งบจัดสรร เบิกจ่าย คงเหลือ ศอ.1 1,822,400.00 121,550.00 1,700,850.00 ศอ2 1,912,350.00 353,217.00 1,559,133.00 ศอ3 3,806,500.00 11,947.20 3,686,552.80 ศอ4 3,559,750.00 521,213.00 3,038,537.00 ศอ5 2,051,000.00 67,000.00 1,984,000.00 ศอ.6 3,917,750.00 435,392.00 3,482,358.00

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณที่จัดสรรให้หน่วยงานอื่นเบิกแทน หน่วยเบิกแทน งบจัดสรร เบิกจ่าย คงเหลือ ศอ.7 3,680,750.00 381,995.45 3,298,754.55 ศอ.8 1,898,950.00 23,810.00 1,875,140.00 ศอ.9 2,412,350.00 174,982.00 2,237,368.00 ศอ.10 4,175,350.00 539,204.47 3,636,145.53 ศอ.11 2,851,750.00 53,257.00 2,798,493.00 ศอ.12 3,200,250.00 89,950.00 3,110,300.00

ประเด็นการประชุม เสนอแนะต่อการบริหารจัดการของกรมอนามัย

"ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี" กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"