แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น(SRM)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสนับสนุนทางวิชาการ ต่อการดำเนินงานของ โรงพยาบาลชุมชน
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กในชุมชน
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนปฏิบัติการประเด็นยุทธศาสตร์ ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปีงบประมาณ 2553 - 2556

แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น(SRM) ภายในปี พ.ศ.2553 - 2556 เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นไทยสุขภาพดี มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น มีความตระหนัก ความรู้และทักษะชีวิตด้านส่งเสริมสุขภาพ เป็นบุคคลต้นแบบเด็กไทยทำได้ จัดกิจกรรมบูรณาการ พัฒนาและเฝ้าระวังสุขภาพด้วยตนเอง เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น มีศักยภาพ จัดตั้งชมรม/แกนนำ/เครือข่าย/ศูนย์เรียนรู้ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดทำโครงงานสุขภาพ ครอบครัวมีการเฝ้าระวัง พฤติกรรมสุขภาพ จัดตั้งแกนนำ/เครือข่ายครอบครัว มีระบบการดูแลช่วยเหลือ จัดทำข้อเสนอแนะ/ข้อตกลงสู่ชุมชน ชุมชนมีแผนงาน/โครงการและนวัตกรรม ส่งเสริมให้มีระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ มีทักษะการทำแผนงาน/โครงการ แสวงหาทุน ระดับประชาชน (Valuation) สถานศึกษาพัฒนาศักยภาพ สร้างองค์กรต้นแบบ บูรณาการหลักสูตร สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สธ.สนับสนุนวิชาการและ บริการสุขภาพ มีสถานบริการสุขภาพต้นแบบ ถ่ายทอดเทคโนโลยี เป็นศูนย์ประสานงาน อปท.มีส่วนร่วมและสนับสนุน มีแผนพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นแบบบูรณาการ สนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง มีข้อกำหนดท้องถิ่นรองรับ ภาครัฐ/เอกชนสนับสนุน บูรณาการงานร่วมกัน สนับสนุนทรัพยากร สร้างกระแส ชี้นำสังคม (Stakeholder) ระดับภาคี มีระบบกำกับติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบกำกับติดตาม ถอดบทเรียน/รูปแบบการพัฒนางาน จัดทำข้อเสนอเพื่อการพัฒนา/แก้ไขปัญหา มีการพัฒนานวัตกรรมและ องค์ความรู้ มีการจัดการความรู้ มีคลังความรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการบริหารจัดการ ภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ สร้างการมีส่วนร่วม แสวงหาความต้องการ มีการสื่อสารสาธารณะ ระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาสื่อบุคคล พัฒนาเนื้อหา พัฒนาช่องทางสื่อสาร ระดับกระบวนการ มีระบบข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพที่ทันสมัย พัฒนาผู้ใช้และผู้ดูแลระบบ มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูล สมรรถนะและทักษะบุคลากรเป็นมืออาชีพ ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เร่งรัดการเป็นผู้นำและทำงานเป็นทีม สร้างเสริมจิตสาธารณะ มีวัฒนธรรมองค์กรที่เอื้ออำนวย สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน สร้างค่านิยมองค์กรแห่งการเอื้ออาทร สร้างแรงจูงใจและขวัญกำลังใจ ระดับ พื้นฐาน

แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ.2554 เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีศักยภาพ จัดตั้งชมรม/แกนนำ/เครือข่าย/ศูนย์เรียนรู้ KPI แกนนำเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นเป็นต้นแบบด้านสุขภาพ 15 14 13 ครอบครัวมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ จัดตั้งแกนนำ/เครือข่ายครอบครัว KPI แกนนำครอบครัวสามารถทำบทบาทเฝ้าระวังพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมในครอบครัวและชุมชน เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น มีความตระหนัก ความรู้และทักษะชีวิตด้านส่งเสริมสุขภาพ บุคคลต้นแบบเด็กไทยทำได้ KPI แกนนำเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ระดับประชาชน (Valuation) ชุมชนมีแผนงาน/โครงการและนวัตกรรม ส่งเสริมสุขภาพ ส่งเสริมให้มีระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ KPI มีแผนชุมชน/นวตกรรมเพื่อการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและเยาวชน 12 9 สถานศึกษาพัฒนาศักยภาพ สร้างองค์กรต้นแบบ KPI มีโรงเรียนต้นแบบ 11 10 อปท.มีส่วนร่วมและสนับสนุน มีแผนพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นแบบบูรณาการ KPI อปท.บรรจุแผนพัฒนาสุขภาพเก็กวัยเรียนวัยรุ่นในแผนพัฒนาท้องถิ่น ภาครัฐ/เอกชนสนับสนุน -บูรณาการงานร่วมกัน (Stakeholder) ระดับภาคี สธ.สนับสนุนวิชาการและบริการสุขภาพ มีสถานบริการสุขภาพต้นแบบ KPI มีสถานบริการที่ให้บริการที่เป็นมิตรแก่เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 8 6 ระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาสื่อบุคคล KPI มีสื่อควมรู้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ มีการบริหารจัดการ ภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ สร้างการมีส่วนร่วม KPI ภาคีเครือข่ายสามารถจัดทำกิจกรรม/โครงการฯ มีระบบกำกับติดตามและประเมินผล -พัฒนาระบบกำกับติดตาม 7 ระดับกระบวนการ (Management) 5 มีการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ มีการจัดการความรู้ KPI มีองค์ความรู้และนวัตกรรม ที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ 4 1 2 มีระบบข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพที่ทันสมัย KPI มีฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและถูกต้อง สมรรถนะและทักษะบุคลากรเป็นมืออาชีพ ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง KPI มีแผนพัฒนาบุคลากรตามประเด็นสมรรถนะที่เป็นปัญหาต่อการปฏิบัติงาน ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) มีวัฒนธรรมองค์กที่เอื้ออำนวย สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน KPI มีสถานที่ทำงานตามเกณฑ์มาตรฐาน 3

แนวคิดการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น แกนนำ/เครือข่าย ครอบครัว ครอบครัว ระบบการเฝ้าระวังเด็กวัยเรียน และวัยรุ่นในครอบครัว สามารถประเมินและดูแลสุขภาพ แสวงหาบริการสุขภาพ อย่างเหมาะสม ส่งเสริมระบบเฝ้าระวัง สุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น แผนชุมชน/ นวัตกรรม ชุมชน วัยรุ่นต้นแบบ แผนพัฒนาเด็ก วัยเรียนและวัยรุ่น จัดทำแผนพัฒนาเด็กวัยเรียน และวัยรุ่นแบบบูรณการ ท้องถิ่น เด็กวัยเรียนและเยาวชน มีความตระหนัก มีความรู้และทักษะชีวิต ด้านส่งเสริมสุขภาพ สถานบริการสุขภาพ สนับสนุนวิชา/บริการสุขภาพ ระบบบริการสุขภาพ ที่เป็นมิตร ชมรม/ศูนย์เรียนรู้ เด็กนักเรียนและวัยรุ่นไทยสุขภาพดี มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ สพท./ร.ร พัฒนาโรงเรียนต้นแบบ แกนนำเด็ก วัยเรียนและวัยรุ่น สร้างการมีส่วนร่วมสภาเด็ก/ สภานักเรียน ส่งเสริมระบบการเฝ้าระวังสุขภาพ เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ดูแลสุขภาพตนเอง กรมอนามัย สร้างความเข้มแข็งให้ภาคีเครือข่าย ถ่ายทอดความรู้ในชุมชน สนับสนุนให้หลักสูตร RHในสถานศึกษา การรณรงค์สร้างกระแส ผลิตคู่มือ มาตรฐาน สื่อ รวมกลุ่มแก้ปัญหา ถ่ายทอดองค์ความรู้ / นวัตกรรม สร้างข้อตกลงในชุมชน การจัดการความรู้ / แลกเปลี่ยนเรียนรู้

เป้าประสงค์ เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นไทยสุขภาพดี มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ

ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (KRI) เป้าหมาย ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ร้อยละของแม่คลอดบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี 18 16 14 12 จำนวนจังหวัดที่มี่เด็กอายุ 12 ปี ปราศจาก ฟันผุร้อยละ45 ขึ้นไป 40 50 60 70 - จำนวนโรงเรียนผ่านเกณฑ์โรงเรียนส่งเสริม สุขภาพระดับเพชร 36 กล่าวสำหรับวัยรุ่น ที่จริงเวลาเราทำโครงการเราให้ความสำคัญกับกลุ่มเป้าหมาย วัยรุ่นและเยาวชน ที่เป็น young people อายุ 10-24 ปี ตามนิยามของ WHO จากผลการศึกษาวิจัยจากหลายเรื่องของหลายสำนัก รวมทั้งข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขเองเราพบปรากฎการณ์และแนวโน้ม ที่สำคัญคือ ……………………………………………. 6 6 6 6

พันธมิตร/ภาคีเครือข่ายการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 1. สภาเด็กและเยาวชน/สภาเยาวชน/สภานักเรียน 2. กระทรวงพัฒนาสังคมฯ 3. กระทวงศึกษาธิการ (สพท./สพฐ.) 4. มหาวิทยาลัย 5. สำนักงานสาธารณสุข/โรงพยาบาล 6. องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น 7. สื่อมวลชน

นโยบาย/คณะกรรมการสนับสนุนการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 1.นโยบายและยุทธศาสตร์อนามัยการเจริญพันธุ์ - เป้าประสงค์หนึ่งของนโยบายคือ เพื่อให้คนไทยทุกเพศทุกวัยมีอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ดี โดยเฉพาะเรื่องสุขภาพทางเพศในกลุ่มวัยรุ่นทั้งนี้ บนหลักความสมัครใจเสมอภาคและทั่วถึง - ยุทธศาสตร์ - ส่งเสริมให้คนไทยทุกเพศทุกวัยมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์และสุขภาพ ทางเพศที่เหมาะสม - พัฒนาระบบบริการอนามัยการเจริญพันธุ์และสุขภาพทางเพศที่มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพ 2. คณะกรรมการ/คณะทำงานอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ 3. คณะกรรมการอนามัยการเจริญพันธุ์จังหวัด 4. อยู่ในบทบัญญัติแห่ง พรบ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 5. นโยบายปลอดน้ำอัดลม/ขนมกรุบกรอบ 6. สพท.อ่อนหวาน

แหล่งเงินทุนสนับสนุนการดำเนินงาน - สสส. - สคส. - สปสช. - องค์การระหว่างประเทศ

แผนปฏิบัติการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2553-2556

ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ระดับพื้นฐาน กลยุทธ์   โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 1. พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพ - พัฒนาและปรับปรุงเว็บไซด์ Friend Corner.biz มีฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน 1 เรื่อง  กอง.อพ -พัฒนาระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพ มีระบบและมีผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล มีระบบ/ผู้ดูแลระบบข้อมูล 1 ระบบ (ศูนย์ละ 1-2 คน) กอง ทันตฯ - ติดตามประเมินผลและจัดทำสถานการณ์ทันตสุขภาพ 1 ครั้ง - จัดทำฐานข้อมูลการประเมินสมรรถนะบุคลากรสำนักส่งเสริมสุขภาพด้านการพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น สำนัก ส.* - พัฒนาเว็บไซด์โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ สำนัก ส.

ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ระดับพื้นฐาน กลยุทธ์   โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 2. ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง -ประชุมจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน 2 ครั้ง กอง.อพ. - จัดอบรมบุคลากร ให้ความรู้เรื่องการตั้งครรภ์ครั้งแรกอายุต่ำกว่า 20 ปี 12ศูนย์/24จว. - รวบรวมรายชื่อโรงเรียนเพื่อพัฒนาเครือข่าย 576 ร.ร. กอง ทันตฯ - อบรมพัฒนาศักยภาพการทำงานเป็นเครือข่าย รร.ส่งเสริมทันต์ 120 คน - จัดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างเครือข่าย 300 คน - สรุปบทเรียนกระบวนการสร้างเครือข่าย 1 ครั้ง - สรุปองค์ความรู้และนวัตกรรมจากการดำเนินงานเครือข่าย 1 เรื่อง - จัดทำคู่มือ สามารถดำเนินงาน เฝ้าระวังได้ - สัมมนาผู้ที่เกี่ยวข้อง/สรุปและจัดทำเอกสาร มีข้อมูลเพื่อวางแผนแก้ไขปัญหา

ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ระดับพื้นฐาน กลยุทธ์   โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 2. ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง  - จัดทำการประเมินสมรรถนะบุคลากร มีแผนพัฒนาบุคลากรตามประเด็นสมรรถนะ 50 % 60 % 70 % 80 % สำนัก ส. - ประมวลจัดทำฐานข้อมูลการประเมินสมรรถนะ มีฐานข้อมูลสมรรถนะบุคลากร 1 - จัดทำแผนพัฒนาสมรรถนะหลักรายบุคคล - ประมวลหลักสูตรและจัดอบรมฯ - พัฒนาสมรรถนะการเป็นผู้นำ การทำงานเป็นทีม บุคลากรมีสมรรถนะและทักษะตามเกณฑ์ 60 คน - สร้างเสริมความรู้และ-ทักษะเฉพาะทาง/หลักสูตรที่สอดคล้องกับงาน 30 คน - สัมมนาสัญจรวิชาการสุขอนามัยในถิ่นทุรกันดาร 40 คน สำนัก ส.* - คัดเลือกหน่วยงาน /คนสร้างสรรค์ในถิ่นทุรกันดาร 10หน่วยงาน

ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ระดับกระบวนการ กลยุทธ์   โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 4. มีการจัดการความรู้ - ประชุมการจัดการความรู้การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น(ระดับจังหวัด) มีองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ 1 เรื่อง กอง อ.พ - จัดทำเกณฑ์มาตรฐานครอบครัวต้นแบบและแนวทางสู่ครอบครัวอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น 1 เรื่อง/ 3 จังหวัด ศูนย์ 2/4/6 จัดทำเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนต้นแบบและแนวทางสู่อนามัยการ เจริญพันธุ์ในวัยรุ่น - ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเจริญ เติบโตของเด็ก 6-18 ปี 1เรื่อง กองโภชนาการ - ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ 2 ครั้ง สำนัก ส. - วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ด้านสุขภาพในถิ่นทุรกันดาร 5 เรื่อง สำนัก ส -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดำเนินงาน (พื้นที่สูง) 1 ครั้ง สำนัก ส* - พัฒนาและสร้างเครือข่ายโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพก้าวสู่ระดับเพชร 12 ศูนย์/ 24 ร.ร สำนัก ส.ศูนย์เขต* - ประชุมวิชาการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ครั้งที่3 (ปลาย มี.ค) 600คน - สัมมนาสัญจรโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 50คน

ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ระดับกระบวนการ กลยุทธ์   โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 5. พัฒนาสื่อบุคคล - สื่อสร้างสรรค์สารพันข่าวสาร: สนับสนุนสื่อเอกสารวิชาการ มีสื่อความรู้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ 20,000 เล่ม 30,000 เล่ม 40,000 50,000 สำนัก ส - คู่มือสอนสนุก ปลุกความคิดเชื่อมชีวิตการเรียนรู้เรื่องสุขภาพช่องปาก 1 เล่ม กอง ทันตฯ - เทปเพลงการแปรงฟัน ชุดที่ 3 1 ชุด - วิดิทัศน์สำหรับครูและ จนท.สธ.เรื่องการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กวัยเรียน 1 เรื่อง 6. สร้างการมีส่วนร่วม - ประชุมชี้แจงโครงการประกวดคู่หูทันตสุขภาพกับศูนย์อนามัยเขต (ต.ค) ภาคีเครือข่ายสามารถจัดกิจกรรม/โครงการ 36 คู่หู/ 72 ร.ร - พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะการสร้างและใช้แผนยุทธศาสตร์การเจริญเติบโตเด็ก6-18 ปี 20 คน 80 คน 400คน โภชนาการ - จัดทำทะเบียนผู้ประสานงานหลักและภาคีเครือข่าย 2ครั้ง สำนักส * -สร้างการมีส่วนร่วมในการผลักดันแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ 60 คน สำนัก ส*

ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ภาคีเครือข่ายดำเนินการเฝ้าระวังตามเกณฑ์ ระดับกระบวนการ กลยุทธ์   โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 7. พัฒนาระบบกำกับติดตาม - สร้างระบบติดตามประเมินผลการเจริญเติบโตเด็กวัยเรียน 6-18 ปี 60คน 20คน 100คน กอง โภชนาการ - ผลักดัน/สนับสนุนให้เครือข่ายดำเนินการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตเด็ก 6 – 18 ปี ภาคีเครือข่ายดำเนินการเฝ้าระวังตามเกณฑ์ 75 จว. 75จว. - พัฒนาระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพเด็กและเยาวชน 1 ครั้ง สำนัก ส - นิเทศติดตามการดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมาย 4ครั้ง 15 ครั้ง สำนัก ส* - ตรวจเยี่ยมและร่วมรับเสด็จ 2 ภาค 4ภาค - ประเมินมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ร.ร.ส่งเสริมฯที่ผ่านการประเมิน 36ร.ร. 36ร.ร

ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ระดับภาคีเครือข่าย กลยุทธ์   โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 8. มีสถานบริการสุขภาพต้นแบบ   - สนับสนุนสถานบริการให้มีการจัดบริการที่เป็นมิตรและมีคุณภาพ(ศูนย์ละ 1จังหวัด) มีสถานบริการที่ให้บริการที่เป็นมิตรแก่เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 120 รพ. กอง อ.พ/ศูนย์เขต 9. สร้างองค์กรต้นแบบ  - สร้างโรงเรียนต้นแบบ มีโรงเรียนต้นแบบ 3 จังหวัด30 รร. 2จังหวัด20 รร. 2จังหวัด 20 รร. 20รร. กอง อ.พ - สร้างครอบครัวต้นแบบ มีครอบครัวต้นแบบ 300ครอบครัว 200 ครอบครัว - โครงการ สพท.อ่อนหวาน เกิดเขต พท.การศึกษาปลอดน้ำอัดลม 50 100 150 185 กอง ทันตฯ - พัฒนากลุ่มโรงเรียนคุณภาพ(Good practice model) 10%ของ ร.ร สพฐ 20%ของ ร.ร สพฐ 30 %ของ ร.ร. สพฐ 40%ของร.ร. สพฐ - ประเมินผลการดำเนินงานตามหลักสูตร 1 เรื่อง - พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการใช้โปรแกรมการเฝ้าระวังฯผ่านระบบ E-service (เหลืออยู่ 27จังหวัด) สามารถเป็นโรงเรียนต้นแบบการเฝ้าระวัง 120คน สำนัก ส

ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ระดับภาคีครือข่าย กลยุทธ์   โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 11. มีแผนพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นแบบบูรณาการ - อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อบรรจุหลักสูตรอนามัยการเจริญพันธุ์ในระดับมหาวิทยาลัย -จำนวนมหาวิทยาลัยที่มีหลักสูตรอนามัยการเจริญพันธุ์ 5 ม. กอง อ.พ - ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาหลักสูตรอนามัยการเจริญพันธ์ระดับปริญญาตรี จำนวนมหาวิทยาลัยที่หลักสูตรผ่านการอนุมัติจาก สภามหาวิทยาลัยและสคอ. 15 ม. 18 ม. 23 ม. 26 ม. ประชุมปฏิบัติการเพื่อพัฒนาคู่มือการสอน อพ.ในระดับอุดมศึกษา 18 คน 26 คน - ประชุมเพื่อขยายรูปแบบการทำแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ จังหวัดมีแผนยุทธศาสตร์อนามัย การเจริญพันธุ์ 15 จ.ว. -จัดกระบวนการเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมกับ อปท.ในการจัดทำแผน อปท.บรรจุแผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นในแผนพัฒนาท้องถิ่น 120คน สำนัก ส - จัดเวทีสัมมนาประชาคมบูรณาการร่วมกัน 150 คน - จัดกระบวนการเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับโรงเรียน/ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน .ในถิ่นทุรกันดาร 300แห่ง สำนัก ส* - สนับสนุนและพัฒนาสู่การเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 36แห่ง

ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ระดับภาคีเครือข่าย กลยุทธ์   โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 11. มีแผนพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นแบบบูรณาการ -สนับสนุนและพัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนฯ ต้นแบบ 20แห่ง สำนัก ส * - ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านการจัดการเรียนการสอนการเตรียมความพร้อมการเป็นพ่อแม่ที่ดี 2ครั้ง - สร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายเพื่อจัดอบรมในการจัดทำแผนการสอนด้านการสร้างเสริมสุขภาพ 5ครั้ง สำนัก ส*

ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ระดับประชาชน กลยุทธ์   โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 12. ส่งเสริมให้มีระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ - เสริมสร้างศักยภาพนักเรียนแกนนำในโรงเรียนถิ่นทุรกันดาร มีแผนพัฒนาชุมชน /นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 300คน/ 36 รร. 300 คน/ 36 ร.ร. สำนักส * - จัดทำคู่มือ/หนังสือ 20,000เล่ม 20,000 เล่ม - จัดซื้อวิตามินเสริมธาตุเหล็กและไอโอดีน 200แห่ง 700แห่ง - สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับแกนนำชุมชนในการจัดทำแผนงานโครงการ 200คน - ส่งเสริมให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศึกษาดูงานในพื้นที่ต้นแบบ 5ครั้ง

ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ แกนนำโภชนาการดำเนินงานเฝ้าระวัง ระดับประชาชน กลยุทธ์   โครงการ/กิจกรรม (KPI) ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดวัดสำเร็จ ผู้รับ ผิดชอบ  53 54 55 56 13. จัดตั้งชมรม /แกนนำ/เครือข่าย/ศูนย์การเรียนรู้ - สร้างแกนนำเยาวชนด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ แกนนำเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ 180 คน กอง อ.พ เพิ่มพูนความรู้และทักษะชีวิตด้านอนามัยการเจริญพันธุ์แก่เยาวชนในสถานสงเคราะห์และสถานศึกษา 250 คน - พัฒนาศักยภาพแกนนำวัยใสด้านโภชนาการ แกนนำโภชนาการดำเนินงานเฝ้าระวัง 240คน 260คน กอง โภชนาการ - พัฒนาศักยภาพแกนนำเครือข่ายชมรมเด็กไทยทำได้ระดับจังหวัด นักเรียนแกนนำสามารถเป็นต้นแบบ 150คน 160คน สำนัก ส - เสริมสร้างศักยภาพชมรมเด็กไทยทำได้โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ(เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้) 1,800 คน สำนัก ส / 12 ศูนย์เขต -พัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำใน ร.ร.สังกัดระทรวงศึกษาธิการ 92 ร.ร. 15. เป็นบุคคลต้นแบบเด็กไทยทำได้ - สร้างนักเรียนแกนนำต้นแบบเฝ้าระวังน้ำดื่มในโรงเรียน (ศูนย์ 11 /12 ดำเนินการแล้ว) 10 ศูนย์/ 10 ร.ร./ 100 คน

งบประมาณจัดสรรให้ศูนย์อนามัย พ.ศ. 2553 โครงการ ศูนย์อนามัยทั้ง 12 เขต เป้าหมาย แต่ละศูนย์ฯ งบประมาณ หน่วยงาน สนับสนุนการอบรมผู้ให้บริการที่เป็นมิตรกับ วัยรุ่น (ศูนย์เขตละ 1 จังหวัด) 1จว./50 คน .25 กอง อพ. ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานจังหวัด 4 แห่ง .08 อบรมแกนนำนักเรียน/สภาเด็กและเยาวชน 12 ศูนย์เขต 0.1 สนับสนุนการดำเนินงานโครงการเครือข่ายเด็กไทยฟันดีและติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานจังหวัด 2 จว./ 6 เครือข่าย/ 60โรงเรียน .15 กองทันตฯ - สร้างระบบติดตามและประเมินผล (M&E) ด้านการเจริญเติบโตเด็กวัยเรียน อายุ 6-18 ปี) - ประชุมพัฒนาระบบติดตามประเมินผล 60 คน/3 ครั้ง .04 กองโภชนาการ

งบประมาณจัดสรรให้ศูนย์อนามัย พ.ศ.2553 หน่วยต่อล้าน โครงการ ศอ.1 ศอ.2 ศอ.3 ศอ.4 ศอ.5 ศอ.6 เป้าหมาย งบ สำนักส่งเสริมสุขภาพ 1. เสริมสร้างศักยภาพชมรมเด็กไทยทำได้ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้HPSก้าวสู่ระดับเพชรระดับ ศอ.) 16 ร.ร. .09 2. พัฒนาและสร้างเครือข่ายโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพก้าวสู่ระดับเพชร 2 ร.ร. .05 3. สร้างเสริมศักยภาพนักเรียนแกนนำในโรงเรียนถิ่นทุรกันดาร - 4. สำรวจสภาวะสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน(ตชด.) 1 โครงการ .03 5. จัดเวทีสัมมนาวิชาการพัฒนาสุขภาพเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร(ตลาดนัดความรู้สู่สุขอนามัยแม่และเด็กและเยาวชนในศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา) กล่าวสำหรับวัยรุ่น ที่จริงเวลาเราทำโครงการเราให้ความสำคัญกับกลุ่มเป้าหมาย วัยรุ่นและเยาวชน ที่เป็น young people อายุ 10-24 ปี ตามนิยามของ WHO จากผลการศึกษาวิจัยจากหลายเรื่องของหลายสำนัก รวมทั้งข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขเองเราพบปรากฎการณ์และแนวโน้ม ที่สำคัญคือ ……………………………………………. 23 23 23 23

งบประมาณจัดสรรให้ศูนย์อนามัย พ.ศ.2553 หน่วยต่อล้าน โครงการ ศอ.7 ศอ.8 ศอ.9 ศอ.10 ศอ.11 ศอ.12 เป้าหมาย งบ สำนักส่งเสริมสุขภาพ 1. เสริมสร้างศักยภาพชมรมเด็กไทยทำได้ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้HPSก้าวสู่ระดับเพชรระดับ ศอ.) 16 ร.ร. .09 20 ร.ร. .12 32 ร.ร. .19 28 ร.ร. .16 2. พัฒนาและสร้างเครือข่ายโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพก้าวสู่ระดับเพชร 2 ร.ร. .05 3. สร้างเสริมศักยภาพนักเรียนแกนนำในโรงเรียนถิ่นทุรกันดาร - 2 จังหวัด .40 13 ร.ร. 3 จังหวัด 5 ร.ร. .10 4. สำรวจสภาวะสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน(ตชด.) 1 โครงการ .03 5. จัดเวทีสัมมนาวิชาการพัฒนาสุขภาพเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร(ตลาดนัดความรู้สู่สุขอนามัยแม่และเด็กและเยาวชนในศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา) 1ครั้ง/ 200 คน .50 กล่าวสำหรับวัยรุ่น ที่จริงเวลาเราทำโครงการเราให้ความสำคัญกับกลุ่มเป้าหมาย วัยรุ่นและเยาวชน ที่เป็น young people อายุ 10-24 ปี ตามนิยามของ WHO จากผลการศึกษาวิจัยจากหลายเรื่องของหลายสำนัก รวมทั้งข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขเองเราพบปรากฎการณ์และแนวโน้ม ที่สำคัญคือ ……………………………………………. 24 24 24 24

งบประมาณตามประเด็นยุทธศาสตร์ ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2553 - ส่วนกลาง กองอนามัยการเจริญพันธุ์ 15.8 ล้าน (ปี 2552 = 14.0) กองทันตสาธารณสุข 8.8 ล้าน (ปี 2552 = 8.8) สำนักส่งเสริมสุขภาพ 11.10 ล้าน (ปี 2552 = 7.2) กองโภชนาการ 2.45 ล้าน (ปี 2552 = 0) - ศูนย์อนามัย 3.50 ล้าน รวม 40.26 ล้าน (ปี 2552 = 30)