ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
ดิน(Soil).
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การถอดความรู้ เรื่องการผลิตสับปะรดโรงงาน
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
Lab 1. การเก็บตัวอย่าง และการจำแนกชนิดวัชพืช
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต
What is the optimum stocking rate ?
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
หญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตคะน้าแบบไว้ตอ
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
Next.
การจัดชั้นคุณภาพสวนสักอายุ 14 ปี ไม้สักเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความชุ่มชื้น สูง ดินลึก ( ดินชั้น A ลึก > 1 เมตร ) มีการระบายน้ำดี ดินมีสภาพเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
การเจริญเติบโตของพืช
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค มะพร้าว COCONUT Scientific name :- Cocos nusifera ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค

แหล่งผลิต ระดับโลก :- 85% อยู่ในแถบเอเชียแปซิฟิก เช่น ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย อินเดีย ศรีลังกา ไทยฯลฯ ในประเทศไทย :-ผลิตเพียงพอสำหรับการใช้ภาย ในประเทศ (Domestic consumption) แหล่งผลิตที่สำคัญ คือ ภาคใต้ ภาค กลางแถบ ปากแม่น้ำเจ้าพระยา และ ภาคตะวันออก

ปัญหาการผลิตในประเทศไทย เป็นมะพร้าวที่มีอายุมาก เป็นพันธุ์ดั้งเดิม ผลผลิตจึงน้อย มีการขยายตัวทางด้านการผลิต (ผลผลิต/พื้นที่และพื้นที่ปลูก) น้อย พื้นที่ปลูกส่วนมากเป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม ความอุดมสมบูรณ์น้อย (พื้นที่สมบูรณ์และเหมาะสมนำไปใช้ประโยชน์ด้านอื่น)

ถิ่นกำเนิด เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพราะพบว่ามีความหลากหลายทางพันธุกรรมมาก เช่น อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย

อายุการให้ผลผลิต(ปี) พันธุ์ ใช้อายุการตกผล(เริ่มให้ผลผลิต) และขนาดของต้นและผลเป็นเกณฑ์ ซึ่งจำแนกได้ คือ *มะพร้าวกลางส่วนมากจะเกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างมะพร้าวหนักกับมะพร้าวเบา พันธุ์ อายุการตกผล(ปี) อายุการให้ผลผลิต(ปี) ลักษณะลำต้น หนัก(ต้นสูง) เบา(ต้นเตี้ย) กลาง* 8-10 3-4 5-6 60-80 30-40 50 ต้นสูงมีสะโพก(Bole)ที่โคน ต้นเตี้ยไม่มีสะโพกที่โคน ต้นปานกลางมีทั้งมีสะโพกและไม่มีสะโพก

เช่น มะพร้าวพันธุ์สวีลูกผสม 1 ชุมพรลูกผสม 1 และ MAWA เป็นต้น มะพร้าวลูกผสม มะพร้าวเป็นพืชที่มีการผสมตัวเอง และผสมข้าม ฉะนั้นการปลูกเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดี จะเป็นพันธุ์มะพร้าวลูกผสมรุ่นที่ 1 (F1 hybrid) เช่น มะพร้าวพันธุ์สวีลูกผสม 1 ชุมพรลูกผสม 1 และ MAWA เป็นต้น

สำหรับการปลูกมะพร้าว สภาพแวดล้อมที่เหมาะ สำหรับการปลูกมะพร้าว TROPICAL AREA ชอบความชื้น (RH. 80-90 % ) ต้องการแสงมาก (>2,000 ชม/ปี) สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกิน 600เมตร ดิน ที่ดีสำหรับมะพร้าวควรเป็นดินที่มีอนุภาคดินเหนียวมากเพราะจะมีแร่ธาตุ โพแตสเซียม (K) ซึ่งจำเป็นสำหรับมะพร้าว

วัสดุปลูก นำผลที่แก่เต็มที่ (Physical maturity) มาทำการเพาะ จนแตกหน่อ เมื่อหน่อมีอายุ 5-6 เดือนก็นำไปปลูกในแปลง

ระยะปลูก 8-9 เมตร/ต้น จะได้ 22-25 ต้น/ไร่ การปลูก ระยะปลูก 8-9 เมตร/ต้น จะได้ 22-25 ต้น/ไร่ ควรมีการเตรียมดินที่ดี ขุดหลุมใส่ปุ๋ยอินทรีย์ แล้วปลูกในช่วงฤดูฝน

การดูแลรักษา ให้น้ำสำหรับการตั้งตัวเท่านั้น กรณีที่ฝนทิ้งช่วง การป้องกันกำจัดวัชพืช - พืชคลุมดิน - ถากและถาง การใส่ปุ๋ย การใส่ธาตุอาหารจากดินในแต่ละปี คือ ไนโตรเจน 9.44-14.56 กก. /ไร่ ฟอสฟอรัส 4.32-6.40 กก. /ไร่ โพแตสเซียม 13.60-20.96 กก. /ไร่

ควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ควบคู่กับปุ๋ยวิทยาศาสตร์ การใส่ปุ๋ย ควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ควบคู่กับปุ๋ยวิทยาศาสตร์ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ที่ใช้อาจจะเป็นสูตร 13-13-21 หรือสูตร 12-12-17-2

โรค โรคยอดเน่า (Heart leaf rot) เกิดจากเชื้อ Pythium sp. โรคใบจุด (Helminthosporium leaf spot) เกิดจากเชื้อรา Helminthosporium sp.

มีด้วงแรดมะพร้าว (Rhinoceros beetle) แมลง มีด้วงแรดมะพร้าว (Rhinoceros beetle)

ควรพิจารณาถึงการนำไปใช้ประโยชน์เป็นหลัก มะพร้าวอ่อน - อายุ 5-6 เดือน การเก็บเกี่ยว ควรพิจารณาถึงการนำไปใช้ประโยชน์เป็นหลัก มะพร้าวอ่อน - อายุ 5-6 เดือน มะพร้าวแก่ - กะทิสด 10 เดือน มะพร้าวสุด - มะพร้าวแห้ง 72 เดือน

การใช้ประโยชน์ - บริโภค อุตสาหกรรมมะพร้าวแห้ง อุตสาหกรรมน้ำมันมะพร้าว อุตสาหกรรมกะทิเข้มข้น อุตสาหกรรมมะพร้าวขูดแห้ง มะพร้าวอ่อน

การใช้ประโยชน์ - อื่น ๆ อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยมะพร้าว ไม้มะพร้าว